Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริเดช สุชีวะ-
dc.contributor.advisorสังวรณ์ งัดกระโทก-
dc.contributor.authorธัญญริญญ์ จิรกุลธนศิริโชติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:31:14Z-
dc.date.available2018-04-11T01:31:14Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58094-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการสร้างความสามารถในการวินิจฉัยตนเองในทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และ 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการสร้างความสามารถในการวินิจฉัยตนเองในทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนศรีบุณยานนท์ จำนวน 42 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบประเมินการวินิจฉัยตนเองในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์มีลักษณะเป็นแบบ ตาราง 3 ช่อง และแบบสัมภาษณ์ความพึงพอใจรูปแบบความสามารถในการวินิจฉัยตนเองในทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) รูปแบบการสร้างความสามารถในการวินิจฉัยตนเองในทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่พัฒนาขึ้น เป็นกระบวนการที่ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนสำคัญได้แก่ 1.1) ขั้นกระตุ้นความรู้ 1.2) ขั้นพัฒนาความสามารถต่อเนื่อง และ 1.3) ขั้นตอนติดตามและสรุปผล 2) ผลการประเมินประสิทธิผลรูปแบบการสร้างความสามารถในการวินิจฉัยตนเองในทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ พบว่า 2.1) หลังการทดลองร้อยละของนักเรียนที่วินิจฉัยข้อบกพร่องของตนเองได้ถูกต้องและได้ผลตรงกับการวินิจฉัยรายบุคคลของครูผู้เชี่ยวชาญ โดยรวมทุกด้านสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 76.19 ถือว่ารูปแบบการสร้างความสามารถในการวินิจฉัยตนเองในทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์มีส่วนสร้างความสามารถในการวินิจฉัยตนเองของนักเรียน 2.2) หลังการทดลองใช้รูปแบบการสร้างความสามารถในการวินิจฉัยตนเองในทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3) นักเรียนที่ได้รับการฝึกด้วยรูปแบบการสร้างความสามารถในการวินิจฉัยตนเองในทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ มีแนวโน้มความสามารถในการวินิจฉัยตนเองในทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThis research and development aimed: 1) to develop the self-diagnostic capacity building model in mathematical problem solving skills 2) to study effectiveness of using the self-diagnostic capacity building model in mathematical problem solving skills. Participant were 42 tenth grade students in 2016 at Sriboonyanon School. The data were collected through the evaluation form of self-diagnostic in mathematical problem solving skills - triple table type, and satisfaction survey and interview schedule. The research findings were as follows: 1) the self-diagnostic capacity building model in mathematical problem solving skills processses consisted of 3 procedures, including the motivity knowledge, continuative self-diagnostic capacity, and transformation assessment and 2) the effectiveness of the self-diagnostic capacity building model in mathematical problem solving skills revealed that: 2.1) percent of students who had the correct self-diagnostic capacity corresponding to the professional teacher was 76.19%. They had higher the criterion (70%), 2.2) the self-diagnostic capacity building model in mathematical problem solving skills meant they had higher posttest than pretest at 0.05 level significant, and 2.3) students who have been trained with the self-diagnostic capacity building in mathematical problem solving skills have a trend upward in the self-diagnostic capacity in mathematical problem solving skills.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.201-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleการพัฒนารูปแบบการสร้างความสามารถในการวินิจฉัยตนเองในทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์-
dc.title.alternativeA DEVELOPMENT OF SELF-DIAGNOSTIC CAPACITY BUILDING MODEL IN MATHEMATICAL PROBLEM SOLVING SKILLS-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาเอก-
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSiridej.S@Chula.ac.th,sujiva.siridej@gmail.com,Siridej.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSungworn@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.201-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5484465827.pdf4.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.