Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58130
Title: | ENHANCED PRODUCTION OF L-AMINOADIPIC ACID IN Escherichia coli BY METABOLIC ENGINEERING OF LYSINE AND ADIPIC ACID BIOSYNTHESIS |
Other Titles: | การเพิ่มการผลิตกรดแอล-อะมิโนอะดิพิกใน Escherichia coli โดยวิศวกรรมเมแทบอลิซึมของกระบวนการชีวสังเคราะห์ไลซีนและกรดอะดิพิก |
Authors: | Teerapat Norasetsingh |
Advisors: | Kanoktip Packdibamrung |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Advisor's Email: | Kanoktip.P@Chula.ac.th,kanoktip.p@chula.ac.th |
Subjects: | Amino acids Lysine Biosynthesis Adipic acid Leucine กรดอะมิโน ไลซีน ชีวสังเคราะห์ |
Issue Date: | 2016 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | L- Aminoadipic acid (L- AAA), a non- protein structure amino acid, is an important intermediate for many medicinal compounds such as antirheumatic drug, psoriasis and carcinostatic drug as well as a precursor in the production of β-lactam antibiotics. L-Lysine is known as one of precursors for L-AAA synthesis in microorganisms. To increase L-AAA production in Escherichia coli, releasing of allosteric inhibition of the enzymes in L-lysine biosynthesis pathway should be performed. pD-Y*D*LP containing V339A mutated lysC and E84T mutated dapA genes encoding for L-lysine feedback resistant aspartokinase III and dihydrodipicolinate synthase from E. coli, respectively, along with L–AAA synthesis genes, lysdh which encodes lysine dehydrogenase from Acromobacter denitrifican and pcd which encodes piperideine-6-carboxylate dehydrogenase from Pseudomonas putida was constructed. Proteins expression of aspartokinase III and dihydrodipicolinate synthase as well as the activity of aspartokinase III from the recombinant clone were not clearly detected. However, HPLC and TLC analysis indicated that the presence of V399A lysC and E84T dapA under T7 promoter of pRSF-Duet1 could elevate L-AAA titer when the recombinant clone was cultured in minimal medium. |
Other Abstract: | กรดแอล-อะมิโนอะดิพิก (L- AAA) เป็นกรดอะมิโนที่ไม่พบในโครงสร้างของโปรตีนแต่เป็นสารตั้งต้นที่สำคัญในการผลิตสารปฏิชีวนะในกลุ่มบีตาแลกแทม รวมทั้งป็นสารตัวกลางในการผลิตยารักษาโรคสะเก็ดเงินและรูมาติซัม เนื่องจากการสังเคราะห์ L- AAA ในจุลชีพสามารถใช้แอล-ไลซีนเป็นสารตั้งต้น ดังนั้นการกลายยีนที่เข้ารหัสให้เอนไซม์ในวิถีการผลิตแอล-ไลซีนใน Escherichia coli เพื่อให้ไม่เกิดการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แบบย้อนกลับเมื่อปริมาณแอล-ไลซีนในเซลล์เพิ่มขึ้นน่าจะส่งผลให้มีการผลิต L-AAA เพิ่มมากขึ้นด้วย งานวิจัยนี้ได้ทำการสร้าง pD-Y*D*LP ซึ่งประกอบด้วยยีนกลาย lysC ที่ตำแหน่ง V339A ของแอสพาร์โทไคเนส III และยีนกลาย dapA ที่ตำแหน่ง E84T ของไดไฮโดรไดพิโคลิเนตซินเทสซึ่งต้านทานการยับยั้งการทำงานโดยแอล-ไลซีนและยีนที่เข้ารหัสให้เอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยาการสังเคราะห์ L-AAA จากแอล-ไลซีน ได้แก่ ไลซีนดีไฮโดรจีเนส (lysdh) จาก Acromobacter denitrifican และไพเพอริ-เดอีน-6-คาร์บอกซิเลตดีไฮโดรจีเนส (pcd) จาก Pseudomonas putida จากการทดลองยังไม่สามารถตรวจวัดการแสดงออกและกิจกรรมของแอสพาร์โทไคเนส III และการแสดงออกของไดไฮโดรไดพิโคลิเนตซินเทสได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผลจากการวิเคราะห์ L-AAA ในอาหารเลี้ยงเชื้อโดยเทคนิค HPLC และ TLC บ่งชี้ว่า ยีนกลาย lysC และยีนกลาย dapA ภายใต้โปรโมเตอร์ T7 promoter ของ pRSF-Duet1 มีผลให้มีการผลิต L-AAA เพิ่มขึ้น |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2016 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Biochemistry and Molecular Biology |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58130 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1320 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2016.1320 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5671989323.pdf | 6.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.