Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58179
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สันต์ สัมปัตตะวนิช | - |
dc.contributor.author | ธิดา เวียงสมุทร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-04-11T01:32:41Z | - |
dc.date.available | 2018-04-11T01:32:41Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58179 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้ต้องการศึกษาเพื่ออธิบายผลอิทธิพลของคนรอบข้าง (ประสบการณ์) ต่อการมีส่วนรวมในสินค้าสาธารณะ โดยใช้การทดลองทางเศรษฐศาสตร์ในห้องทดลอง การศึกษานี้ออกแบบให้ผู้เข้าร่วมเล่นเกมสินค้าสาธารณะ ที่ถูกจำลองในสถานการณ์แตกต่างกัน 2 ประเภท คือ อิทธิพลรอบข้างที่ดี (ประสบการณ์ดี) และอิทธิพลของครอบข้างที่แย่ (ประสบการณ์แย่) จำนวน 160 คน ผลการศึกษา พบว่าในระหว่างรอบจำลอง ผู้เล่นส่วนใหญ่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อคล้อยตามอิทธิพลของคนรอบข้าง จนกระทั่งหมดรอบจำลอง ผู้เล่นจะค่อย ๆ กลับคืนสู่พฤติกรรมเดิม ดังนั้น การเพิ่มความร่วมมือต่อสินค้าสาธารณะ ต้องมุ่งเน้นไปที่การสร้างอิทธิพลรอบข้างที่ดี เพื่อนำไปสู่การมีสังคมที่ดีอย่างยั่งยืน มากกว่าการสร้างประสบการณ์ที่ดีเพียงชั่วคราวเท่านั้น เช่น การบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด หรือการบังคับใช้กฎระเบียบระดับมหาวิทยาลัย เป็นต้น | - |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study the effect of peer behavior (past experience) on individual’s contribution in the public good game by using economic experiment in a laboratory setting. There are 160 participants, which are divided into 2 groups; (1) Peers with high social contribution (good experience), and (2) Peers with low social contribution (bad experience) The results suggest that despite the contribution decisions converging towards the level of their peers during the simulated rounds, participants gradually return to their initial contribution decision. Thus, policy implications from this study should emphasize the importance of creating good peer experience in a long run, which eventually translate into a good society, rather than focusing on a short-term good peer experience such as strict law enforcement. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.112 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | อิทธิพลของคนรอบข้างต่อความร่วมมือในสินค้าสาธารณะ | - |
dc.title.alternative | Peer Effects on Contribution in Public Goods | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | San.S@Chula.ac.th,ssampatt@gmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2016.112 | - |
Appears in Collections: | Econ - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5685159129.pdf | 5.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.