Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5819
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัศวิน พิชญโยธิน-
dc.contributor.advisorปรีดิ์ บุรณศิริ-
dc.contributor.authorจีรศักดิ์ สังข์ช่วย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2008-02-05T04:39:46Z-
dc.date.available2008-02-05T04:39:46Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741303432-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5819-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย และศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพ ด้านระบบสาธารณูปโภค และระบบคมนาคม รวมถึงศึกษาวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย ในช่วงเวลาปี 2530-2540 โดยในการศึกษาผู้วิจัย ได้เลือกพื้นที่บางส่วนของแขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นพื้นที่ศึกษา เนื่องจากเขตบางกะปิ มีจำนวนการจดทะเบียนที่อยู่อาศัยสูงสุด ในระหว่างปี พ.ศ. 2530-2540 แล้วศึกษาข้อมูลราคาที่ดินในพื้นที่ศึกษา ทั้งจากราคาประเมินภาครัฐและราคาตลาดในช่วง 10 ปี คือ ปี พ.ศ. 2530-2540 รวมถึงศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่มีผลเกี่ยวเนื่อง กับการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย ผลของการศึกษาพบว่า ราคาเฉลี่ยของราคาที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัยในพื้นที่ศึกษา ได้มีอัตราการเปลี่ยนแปลง จากปี พ.ศ. 2530-2540 คือ ราคาประเมินที่ดินจากข้อมูลของภาครัฐ จากปี พ.ศ. 2530-2540 ราคาประเมินที่ดินภาครัฐเพิ่มขึ้นคิดเป็น 483.76% โดยราคาที่ดินตามราคาตลาดมีราคาเพิ่มขึ้นจากปี 2530-2540 คิดเป็น 256.46% ในส่วนของปัจจัยที่เกี่ยวข้องซึ่งมีผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัยในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ ปัจจัยด้านกายภาพ ในพื้นที่ศึกษาระบบสาธารณูปโภคโดยส่วนใหญ่ ได้มีการดำเนินการจากภาครัฐให้เพียงพอ ต่อความต้องการของผู้บริโภคแล้ว ยกเว้นเรื่องระบบคมนาคมในพื้นที่ศึกษา ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงสภาพให้ดี และเพียงพอต่อความต้องการใช้ของผู้บริโภค แต่เป็นการปรับปรุงเพิ่มเติม หลังจากที่ได้มีการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจ และมีการอยู่อาศัยภายในพื้นที่ศึกษาแล้ว ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า การเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัยในพื้นที่ศึกษา เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยด้านกายภาพ ซึ่งเป็นแรงกระตุ้นให้มีความต้องการด้านที่อยู่อาศัยเพิ่มขึ้น หรือความต้องการในการเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยให้ดีขึ้น ผลจากการศึกษาในครั้งนี้อาจเป็นแนวทางในการ พิจารณาภาวะราคาที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัยในอนาคต อาจมีการเปลี่ยนแปลงราคาได้ทั้งในทางลดลงหรือเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเป็นผลมาจากภาวะเศรษฐกิจที่มีการปรับตัว หรือลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงไป และผลจากการวิจัยครั้งนี้อาจเป็นแนวทางในการศึกษาถึง การเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัยในระดับต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo investigate the rate at which land for housing development prices were changing by taking into consideration factors such as utility systems and transportation system. The study also analyzes the situations in the property business that affected the price of land during the years 1987-1997. Certain areas in Huamark subdistrict in Bangkapi district in Bangkok were used as case study sites as Bangkapi district has the highest number of residence registration in the area during the years 1987-1997. The author then studied the land prices in the area, both the price evaluated by the public sector/government agency, and the market price during that period. Physical changes affecting the change of land prices are also taken into consideration. The study found that the average land for housing development prices in the area underwent some changes from 1987-1997. In terms of the price evaluated by the government agency, the land prices went up 483.76% from year 1987-1997 while the market price showed an increaseof 256.46% from year 1987-1997. Considering the factors relating to the change in price of land for housing development, most utility were sufficiently provided by the public sector, except for the transportation system, which was adequately provided, but the improvement was done after the economic expansion and settlement of people in the area. Thus, it can be said that the change of land for housing development price resulted from the physical changes that stimulate needs for a place to live or the need to improve the place where one lived. The result from the study may be guidelines for use in considering the price of land for housing development in the future. The prices could either go up or down depending on the ever-changing economy or the physical changes of the land in the area itself. Moreover, the result may be used as guideline in studying the changes of price of land for housing development in the future.en
dc.format.extent13292727 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.151-
dc.subjectการประเมินราคาที่ดินen
dc.subjectที่ดิน -- ไทย -- บางกะปิ (กรุงเทพฯ)en
dc.titleการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินเพื่ออยู่อาศัย ปี 2530-2540 : กรณีศึกษา แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิen
dc.title.alternativeThe changes of land price for housing development year 1987-1997 : case study Hua Mark, Bangkapi districtsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.151-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jeerasak.pdf12.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.