Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58216
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมชนม์ สถิระพจน์-
dc.contributor.authorพรวิลัย ค่ายชัยภูมิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:33:35Z-
dc.date.available2018-04-11T01:33:35Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58216-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้แสดงการหาแบบจำลองค่าอุณหภูมิเฉลี่ยในชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์จากข้อมูลดาวเทียม AQUA ด้วยกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการประมาณค่าพารามิเตอร์จากวิธี Extended Kalman Filter (EKF) เพื่อประมาณค่าปริมาณไอน้ำในบรรยากาศ (Precipitable Water Vapor, PWV) จากสถานี GNSS Continuously Operating Reference Station (CORS) ในประเทศไทย ในกระบวนการศึกษาประการแรก นำข้อมูลของ Atmospheric Infrared Sounder (AIRS) และ Advanced Microwave Sounding Unit (AMSU) จากดาวเทียม NASA's Aqua satellite (Aqua) ประมวลผลด้วยกระบวนการประมาณค่าพารามิเตอร์ของแบบจำลองค่าอุณหภูมิเฉลี่ย (Mean Temperature, Tm) จากวิธีการประมวลผลแบบ EKF โดยในงานวิจัยจะแบ่งพื้นที่ออกเป็นระดับระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และ 11 สถานี COR ทั่วประเทศ กระบวนการศึกษาประการที่สอง นำแบบจำลองค่าอุณหภูมิเฉลี่ยท้องถิ่นที่ได้นำไปประมาณค่าปริมาณไอน้ำในบรรยากาศจากข้อมูล GNSS ที่ได้จากการคำนวณการประมาณค่าคลาดเคลื่อนในชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์ (Zenith Total Delay, ZTD) ด้วยกระบวนการรังวัดจุดเดี่ยวความแม่นยำสูง (Precise Point Positioning, PPP) โดยมีค่าปริมาณไอน้ำในบรรยากาศอ้างอิงที่ได้จากเครื่องรับ AIRS และ AMSU จากดาวเทียม Aqua จากการศึกษาพบว่า การหารูปแบบจำลองค่าอุณหภูมิเฉลี่ยท้องถิ่นเพื่อประมาณค่าปริมาณไอน้ำในบรรยากาศจากข้อมูล GNSS สามารถนำไปประมาณค่าปริมาณไอน้ำในบรรยากาศที่มีความแม่นยำได้ในระดับบางสถานี ได้แก่ สถานี DPT9, PJRK, SISK, SOKA, SRTN และ UTTD แต่มีบางสถานีที่ไม่สามารถใช้แบบจำลองค่าอุณหภูมิเฉลี่ยท้องถิ่นไปประมาณค่าปริมาณไอน้ำในบรรยากาศได้ อย่างไรก็ตาม สถานี COR บางสถานีสามารถใช้ข้อมูล GNSS สำหรับประมวลผลเพื่อประมาณค่าปริมาณไอน้ำในบรรยากาศได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองค่าอุณหภูมิเฉลี่ยท้องถิ่น-
dc.description.abstractalternativeThis research aims to derive the mean temperature model in troposphere obtained from AQUA satellite using Extended Kalman Filter (EKF) approach to estimate Precipitable Water Vapour (PWV) in GNSS observables from GNSS Continuously Operating Reference Stations (GNSS CORS) in Thailand. First is to study the observed AIRS and AMSU from AQUA satellites to determine the parameters in the mean temperature introduced in the tropospheric Zenith Wet Delay (ZWD) model using EKF strategy; hence, the mean temperature of the 11 studied GNSS CORS are derived. These temperature models represent the regional and national mean temperature model for Thailand. Second is to apply the determined local mean temperatures to improve the estimation of PWV in the GNSS-derived PWV from Zenith Tropospheric Delay (ZTD) using Precise Point Positioning (PPP) algorithm. The estimated results are compared with the determined PWV using global mean temperature and PWV using local mean temperature where as the measured AMSU is used as reference values. The results show that the derived local mean temperature model can be used to estimate PWV from GNSS observations as less bias occurs in the GNSS-derived PWV at estimated results at GNSS CORS, namely, DPT9, PJRK, SISK, SOKA, SRTN and UTTD. The derived global mean temperature model of the GNSS-derived PWV produces less bias than local mean temperature in PWV determinations of other GNSS CORS stations.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1398-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการวัดอุณหภูมิ-
dc.subjectอุณหภูมิชั้นบรรยากาศ-
dc.subjectไอน้ำในบรรยากาศ-
dc.subjectTemperature measurements-
dc.subjectAtmospheric temperature-
dc.subjectWater vapor, Atmospheric-
dc.titleแบบจำลองการหาค่าอุณหภูมิเฉลี่ยในชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม AQUA เพื่อประมาณค่าปริมาณไอน้ำในบรรยากาศจากข้อมูล GNSS สำหรับประเทศไทย-
dc.title.alternativeDeriving the mean tropospheric temperature model using AQUA satellite for GNSS precipitable water vapour estimation in Thailand-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorChalermchon.S@Chula.ac.th,csatirapod@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1398-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5770578021.pdf6.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.