Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58217
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์-
dc.contributor.authorพีรวัจน์ ชัยมณีรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:33:36Z-
dc.date.available2018-04-11T01:33:36Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58217-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการประยุกต์ใช้แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ กับสายงานผลิตไฟฟ้า ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดผลการดำเนินงานทางด้านการเงิน และระบบการบริหารจัดการองค์กรโดยมีตัวชี้วัดคือ ค่ากำไรเชิงเศรษฐศาสตร์โดยเปรียบเทียบระหว่างกำไรหลังจากหักภาษี กับต้นทุนเงินทุน โดยมีสมมติฐานการจัดเก็บรายได้จากสัญญาการซื้อขายไฟฟ้าภายใน ที่ประกอบด้วยค่าความพร้อมจ่าย และรายได้จากค่าเชื้อเพลิง และใช้วิธีการวิเคราะห์ความไวในการกำหนดเป้าหมายของแผนการเพิ่มมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ ซึ่งได้แก่ แผนเพิ่มส่วนต่างค่าเชื้อเพลิง, แผนเพิ่มค่าความพร้อมจ่าย และแผนลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการที่ควบคุมได้ ใช้วิธีการคำนวณอัตราต้นทุนเงินทุนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ของสายผลิตไฟฟ้าซึ่งเท่ากับ 6.43% และกำหนดภาษีเชิงเศรษฐศาสตร์ 20% และวิเคราะห์กำไรเชิงเศรษฐศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างของโรงไฟฟ้าในสายงาน 5 โรงไฟฟ้า ซึ่งได้แก่ โรงไฟฟ้า A และ D ประเภทพลังงานความร้อนร่วม 2 โรงไฟฟ้าถ่านหิน B โรงไฟฟ้าพลังน้ำ C และโรงไฟฟ้า E พลังงานความร้อน ที่ใช้น้ำมันเตาและน้ำมันปาล์มเป็นเชื้อเพลิง โดยในปี พ.ศ.2558 ในภาพรวมสายงานค่า EPสูงกว่าค่าประมาณการ 3,617 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากแผนกลยุทธ์ ทั้ง 3 แผนจำนวน 753 ล้านบาท และเมื่อเปรียบเทียบค่าจริงกำไรเชิงเศรษฐศาสตร์ พ.ศ.2558 กับ ปี 2559 พบว่าภาพรวมสายงานผลิตไฟฟ้ามีค่าลดลง 512 ล้านบาท และโรงไฟฟ้า A ลดลง 64 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า B เพิ่มขึ้น 1,312 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า C ลดลง 58 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า D เพิ่มขึ้น 91 ล้านบาท, โรงไฟฟ้า E ลดลง 161 ล้านบาท โดยโรงไฟฟ้า A ,B, D ควรเน้น SIP ด้านเพิ่มส่วนต่างค่าเชื้อเพลิงค่าเชื้อเพลิง เพิ่มค่าความพร้อมจ่ายโรงไฟฟ้า C ควรเน้นเพิ่มส่วนเกินชั่วโมงความพร้อมจ่ายและโรงไฟฟ้า E ควรเน้น ด้านลดค่าใช้จ่ายที่ควบคุมได้พร้อมทั้งขยายผลการศึกษาค่า EP โรงไฟฟ้าในสังกัดอื่นๆ-
dc.description.abstractalternativeThis research is an application of the Economic Value Management methodology for Electrical Generating Field. It is a tool to measure financial performance and corporate management systems. The indicators are Economic Profit (EP) by comparison between Net Operating Profit After Tax with Cost of Capital the assumption is that revenue from the internal power purchase agreement Composition of availability payment and Energy Payment. Application sensitivity analysis methods for determining strategic improvement plan such as fuel gain management, AP outside CAH and reduce control costs.Calculates the weighted average cost of capital of electrical Generating Field is 6.43% and the economic tax 20% and Analyzing the economic profit of the sample of power plants in the 5 units such as combined cycle power plant A and D, Coal fired power plant B, hydro power plant C, Thermal Power plant E by using fuel oil and palm Based on the results, in 2015 actual EP Higher than plan EP of 3,617 million baht resulting from the three strategic improvement plans of 687 million baht. And compared with the actual EP in 2015 and 2016 the overall electrical generating field has decreased 512 million baht and Power plants A decreased by 64 million Baht, Power Plant B increased 1,312 million Baht, Power Plant C decreased 58 million baht, power plant D increased 91 million baht and power plant E decreased 161 million and Power plants A, B, D are focus on increasing fuel gain and availability payment plan, power plant C should focus oncing m to increase AP outside CAH ,Power plant E should focus on reducing control costs. and expand the results of the study EVM to others power plant area.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1439-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการผลิตพลังงานไฟฟ้า-
dc.subjectโรงไฟฟ้า-
dc.subjectมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐศาสตร์-
dc.subjectElectric power production-
dc.subjectElectric power-plants-
dc.subjectEconomic value added-
dc.titleแนวทางการวิเคราะห์การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ของสายงานผลิตไฟฟ้า-
dc.title.alternativeEconomics value added analysis guideline development of electrical generating field-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorJeerapat.N@Chula.ac.th,Jeirapat.N@Chula.ac.th,jeerapat.n@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1439-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5770948521.pdf7.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.