Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5821
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยรรยง เต็งอำนวย-
dc.contributor.advisorณัฐวุติ หนูไพโรจน์-
dc.contributor.authorบุรินทร์ ช้างน้อย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-02-05T04:56:15Z-
dc.date.available2008-02-05T04:56:15Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743460861-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5821-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการที่มีผู้ใช้ระบบการให้บริการเวิลด์ไวด์เว็บของอินเตอร์เน็ตจำนวนมากและเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ช่องสัญญาณสื่อสารไม่เพียงพอต่อปริมาณข้อมูลที่เพิ่มขึ้น วิธีการหนึ่งในการลดปัญหาความคับคั่งของช่องสัญญาณ คือการทำแคชข้อมูล เพื่อลดการเรียกใช้ข้อมูลซ้ำจากแหล่งเดียวกัน ระบบแคชที่ศูนย์สารสนเทศทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี ได้รับการออกแบบสำหรับติดตั้งใช้งานเป็นลักษณะสองลำดับชั้น โดยแคชลำดับชั้นที่หนึ่งตั้งอยู่ที่บริษัทบริการอินเตอร์เน็ตเพื่อเป็นเกตเวย์ ทำหน้าที่เป็นแคชแม่เพื่อรับการเรียกข้อมูลจากแคชลำดับชั้นที่สองอันเป็นหัวข้อสำคัญในการศึกษาวิจัยของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ทั้งนี้ได้ทำการทดลองติดตั้งแคชระดับชั้นที่สองเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพอยู่ 2 แบบ ได้แก่ จะมีการเชื่อมต่อลักษณะแคชเดียว สลับกับลักษณะแคชเพื่อนบ้าน ช่วงละ 1 เดือน รวมระยะเวลาการทดลอง 4 เดือน จากสถิติการทดลองที่เก็บในช่วงเดือน สิงหาคม 2542 จนถึงเดือน มกราคม 2543 พบว่า การใช้งานแคชเซิร์ฟเวอร์ที่ทำการทดลองติดตั้งลักษณะแคชเดี่ยวมีอรรถประโยชน์การใช้งานร้อยละ 18 และใช้เวลาในการสื่อสารโดยเฉลี่ย 5170 มิลลิวินาที และลักษณะแคชเพื่อนบ้านมีอรรถประโยชน์การใช้งานร้อยละ 20 และใช้เวลาในการสื่อสารโดยเฉลี่ย 4040 มิลลิวินาที โดยตัวแปรที่มีผลต่ออรรถประดยชน์ คือ จำนวนครั้งของการเรียกใช้ข้อมูลและปริมาณการรับส่งข้อมูล และขนาดของแคช ซึ่งเมื่อทำการเปรียบเทียบจากผลการทดลองแล้วจะเห็นได้ว่าแคชเซิร์ฟเวอร์ลำดับที่สองที่ติดตั้งลักษณะเดี่ยว จะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่แตกต่างกับการตั้งติดลักษณะเพื่อนบ้านอย่างมีนัยสำคัญen
dc.description.abstractalternativeDue to the rapidly increase of the use of Internet services of the World Wide Web (WWW), the communication channel is not big enough to cope with the increasing amount of data. One of the method to reduce the congestion of the communication channel is caching which reduces duplicated data requests from the same source. The cache system is designed into two-levels hierarchical structure. The first-level cache located at the Internet Service Provider serves as the gateway to support the second-level cache, the main topic in this thesis deals with the system locating at Mineral Resources Information Center of Department of Mineral Resources. It has been designed into two models for this experiment. The first model is single cache system and another one is sibling caches system. Those two models are installed alternately on montly basis for a period of four months. According to the statistics accumulated from August 1999 until January 2000, the utilization of single cache system is 18% and the average elapsed time is 5170 milliseconds. The utilization of sibling cache system is 20% and average elapse time is 4040 milliseconds. In the experiment, the significant factors affecting the utilization of the cache system are the number of accesses, the volume of data transferred and configured size of the cache. The comparative performance of the single cache and the sibling cache is insignifigantly different.en
dc.format.extent596161 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเว็บแคชen
dc.subjectเวิลด์ไวด์เว็บen
dc.subjectเว็บเซิร์ฟเวอร์en
dc.titleการวิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างการใช้ระบบแคชเดี่ยวกับการใช้ระบบแคชเพื่อนบ้านในเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บen
dc.title.alternativeA comparative analysis on performance of single cache and sibling cache system in World Wide Web networken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisoryunyong.t@chula.ac.th-
dc.email.advisorNatawut.N@Chula.ac.th, natawut@cp.eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
burin.pdf582.19 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.