Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58335
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กุลธิดา โรจน์วิบูลย์ชัย | - |
dc.contributor.author | จิรศักดิ์ จุลวัจน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-04-11T01:37:38Z | - |
dc.date.available | 2018-04-11T01:37:38Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58335 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 | - |
dc.description.abstract | Multipath TCP (MPTCP) มีความสามารถในการเพิ่ม Throughput และเป็น Load balance ซึ่งทำให้คงทนต่อความเสียหาย (Fault Tolerance) จากเส้นทางเชื่อมต่อที่มีปัญหา แต่ด้วยเครือข่ายที่มีความซับซ้อนในปัจจุบัน ทำให้การที่ส่งข้อมูลโดยใช้ MPTCP เกิดการใช้เส้นทางที่ทับซ้อนกัน อย่างไรก็ตาม ในการส่งข้อมูลภายใต้เครือข่ายที่กำหนดโดยซอฟต์แวร์ (Software-Defined Network) ที่ทราบถึงลักษณะของข้อมูลที่ถูกส่งภายในระบบ และสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงานได้ทั้งระบบนั้น จะสามารถช่วยเลือกเส้นทางที่เหมาะสมได้ งานวิจัยนี้จึงเสนอกระบวนการระบุ Subflow ที่ถูกต้องแม่นยำและกระบวนการเลือกเส้นทางที่ใช้ข้อมูลแบนด์วิดท์ที่พร้อมใช้งานแบบเรียลไทม์และค่าความหน่วง เพื่อประมาณค่า Throughput ในการเลือกคู่เส้นทางที่จะได้ค่า Throughput สูงสุดจากเส้นทางทั้งหมดในเครือข่าย ผลลัพธ์จากการวัดประสิทธิภาพในการทดลองนี้พบว่าสามารถส่งข้อมูลที่ได้ค่า Throughput ที่สูงกว่าการเลือกเส้นทางแบบที่สั้นที่สุดร้อยละ 76 ในเครือข่ายแบบดัมเบลอย่างง่าย และร้อยละ 66.6 ในเครือข่าย COST 239 | - |
dc.description.abstractalternative | The features of Multipath TCP (MPTCP) are throughput improvement, load balancing and fault tolerance when used link is down. However, the current network is complicated. Therefore, data transmission from the same source and destination usually shares the same path. However, if we use MPTCP in Software-Defined Networking in which the characteristics of packets and paths can be known at the controller, we can use those information to perform the path selection. This study proposed the accurate subflow identification algorithm and path selection algorithm which utilizes information of real-time traffic and delay for estimating throughput. The performance evaluation results show that, comparing to the traditional shortest path selection algorithm, the proposed path selection algorithm achieves 76% throughput improvement in the simple dumbbell topology, and 66.6% throughput improvement in COST 239 topology. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1254 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | กระบวนการเลือกเส้นทางของทีซีพีแบบหลายเส้นทาง ในเครือข่ายที่กำหนดโดยซอฟต์แวร์ | - |
dc.title.alternative | Path Selection Algorithm for Multipath TCP in Software-Defined Networking | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | Kultida.R@Chula.ac.th,june1_7@hotmail.com,Kultida.r@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2017.1254 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5870914221.pdf | 2.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.