Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58382
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรถพล สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง-
dc.contributor.authorวันดี ศรีสุวรรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:39:44Z-
dc.date.available2018-04-11T01:39:44Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58382-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ ช่วงเวลาใดช่วงเวลาหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดื่มสุรา ต้นทุนชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนชีวิตกับพฤติกรรมการดื่มสุราของพนักงานธนาคารแห่งหนึ่ง เก็บรวบรวมข้อมูลจากพนักงานพนักงานธนาคารที่ปฏิบัติงานประจำอยู่ที่สาขาใหญ่ของธนาคารแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 307 คน โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล แบบสอบถามข้อมูลต้นทุนชีวิต และแบบสอบถามพฤติกรรมการดื่มสุรา ใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติ Chi-square, สถิติ Pearson’s Correlation Coefficient และสถิติ Logistic regression ด้วยวิธี Backward Likelihood ratio ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระดับต้นทุนชีวิตอยู่ในเกณฑ์สูง (ร้อยละ 96.4) รองลงมา ระดับต้นทุนชีวิตอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง (ร้อยละ 3.6) เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยโดยวิธีถ่วงน้ำหนักของต้นทุนชีวิตแต่ละด้าน พบว่า ด้านพลังครอบครัวและด้านพลังตัวตนสูงที่สุด รองลงมา คือ ด้านพลังปัญญา ด้านพลังชุมชน และที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านพลังเพื่อนและกิจกรรม จากการศึกษาพฤติกรรมการติดสุรา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการดื่มปกติ (ร้อยละ 52.8) รองลงมาการดื่มมีแนวโน้มว่าติด (ร้อยละ 31.0) และการดื่มติด (ร้อยละ 16.2) และจากการศึกษาพบว่าต้นทุนชีวิตไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เมื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์รายด้านพบว่าต้นทุนชีวิตรายด้านครอบครัวมีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรมการดื่มสุราในกลุ่มประชากร-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study alcohol drinking behaviour, Life Assets and relationship between Life Assets and alcohol drinking behaviour of bank employees. Data were collected from 307 bank staffs working in Bangkok branches using the personal data questionnaire, Life Assets questionnaire and the Michigan Alcoholism Screening Test. Study data were analysis using Chi-square statistics, Pearson’s Correlation Coefficient and Logistic regression with Backward Likelihood Ratio. From the study 96.4% of employees had high Life Asset while 3.6% had medium Life Asset. When comparing weighted mean, the power of family and power of self are the highest, follow by the wisdom power and power of community and the least is power of peer. Majority of respondents had normal drinking behaviour (52.8%), 31.0% were hazardous drinkers and 16.2% had alcohol dependence. Life Asset had no significant relationship with alcohol drinking behaviour. However, it was found that one dimension of Life Asset, power of family, has reverse correlate with drinking behaviour in the studied population.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1206-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.titleพฤติกรรมการดื่มสุราและต้นทุนชีวิตของพนักงานธนาคารแห่งหนึ่ง-
dc.title.alternativeAlcohol Drinking Behaviour and Life Assets of Employees in a Bank-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสุขภาพจิต-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorAtapol.S@chula.ac.th,Atapol.s@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.1206-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5874260130.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.