Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งระวี สมะวรรธนะ-
dc.contributor.authorเอก แซ่จึง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-04-11T01:42:52Z-
dc.date.available2018-04-11T01:42:52Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58441-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้พลศึกษาโดยใช้การเสริมต่อศักยภาพการเรียนรู้ที่มีต่อความรับผิดชอบและทักษะการตีโต้หน้ามือในกีฬาเทเบิลเทนนิสและ 2) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนความรับผิดชอบและทักษะการตีโต้หน้ามือในกีฬาเทเบิลเทนนิสก่อนและหลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยพิจารณาคุณสมบัติเพื่อเป็นตัวแทนประชากรในงานวิจัยนี้ เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 80 คน โรงเรียนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง (40 คน) และกลุ่มควบคุม (40 คน) เครื่องมือที่ใช้วิจัยได้รับการตรวจสอบและหาค่า IOC (IOC = 0.95) และผ่านกระบวนการทดลองใช้ ก่อนนำไปทดลอง ซึ่งได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 8 แผนแบบทดสอบความรับผิดชอบ และแบบวัดทักษะการตีโต้หน้ามือ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนนด้วยค่า “ที” ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรับผิดชอบและการตีโต้หน้ามือหลังการทดลองของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในขณะที่กลุ่มควบคุมสูงขึ้นเล็กน้อย โดยค่าเฉลี่ยของคะแนนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรับผิดชอบ และการตีโต้หน้ามือหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThis research aims to; 1) study effects of learning Physical Education using scaffolding on responsibility and forehand drive skills in Table Tennis of lower secondary school students and 2) compare mean scores of responsibility and forehand drive skills in table tennis before and after the experiment. The purposive samples were 80 lower secondary students who were qualified characteristics to be representative of the population in this study. The 80 students were diving into two groups of experimental group (40) and control group (40). The qualified of this research instruments using IOC (IOC = 0.95) and try out process before experiment, were 8 lesson plans, responsibility test, and forehand drive skills tests. The data analyzing were used Mean score, Standard deviation and t-test The research findings were as follows; 1) there was a significant (p > 0.05) improvement of the mean and standard deviation scores from the pre-test to post-test in both responsibility and forehand drive skills of the Experimental group, but the Control group was not significant improvement; 2) the average score of responsibility and forehand drive skills of the Experimental group were higher than the Control group with statistically significant (p > 0.05).-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1565-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectพลศึกษา-
dc.subjectเทนนิส-
dc.subjectPhysical education and training-
dc.subjectTennis-
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้พลศึกษาโดยใช้การเสริมต่อศักยภาพการเรียนรู้ที่มีต่อความรับผิดชอบและทักษะการตีโต้หน้ามือในกีฬาเทเบิลเทนนิส-
dc.title.alternativeEffects of learning in physical education using scaffolding on responsibility and forehand drive skills in table tennis-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorRungrawee.Sa@chula.ac.th,rungrawee.sa@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1565-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5883401827.pdf8.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.