Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58521
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาดา รัชชุกูล-
dc.contributor.authorสุพัตรา ทาอ้อ-
dc.date.accessioned2018-04-11T02:10:26Z-
dc.date.available2018-04-11T02:10:26Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58521-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบจำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อน และหลังการใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกจำนวนวันส่องไฟ และแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจหาความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.จำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 37.10 ชั่วโมง) น้อยกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 45.24 ชั่วโมง) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 2.คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 3.53) สูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 4.22) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi experimental research was to compare length of phototherapy in neonatal and nurses’ job satisfaction before and after using the evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia. Research sample consisted of 15 nurses from neonatal ward in Queen Sirikit National Institute of Child Health. The research instruments were the the evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia for phototherapy, training plan, using the evidence-based nursing care neonatal hyperbilirubinemia for phototherapy handbook and monitoring form using the evidence-based nursing care in neonatal hyperbilirubinemia for phototherapy. Research data was obtained by length of phototherapy in neonatal report and nurses’ job satisfaction questionnaires. The questionnaires were tested for content validity and reliability. The Cronbach’s alpha coefficient was .84. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and t-test. The major findings were as follow: 1.Length of phototherapy in neonatal after using the evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia ([X-bar] = 37.10) was significantly less than before ([X-bar] = 45.24 ), at the level .05 2.The mean score nurses’ job satisfaction of group using the evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia for phototherapy ([X-bar] = 3.53) was significantly higher than before experiment ([X-bar] = 4.22), at the level .05en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2081-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectทารกแรกเกิด -- โรค -- การพยาบาลen_US
dc.subjectทารก -- การดูแลen_US
dc.subjectภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด -- การรักษาen_US
dc.subjectการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์en_US
dc.subjectNewborn infants -- Diseases -- Nursingen_US
dc.subjectInfants -- Careen_US
dc.subjectJaundice, Neonatal -- Treatmenten_US
dc.subjectEvidence-based nursingen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เรื่องการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ต่อจำนวนวันส่องไฟและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพen_US
dc.title.alternativeEffects of evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia on length of phototherapy and professional nurses' job satisfactionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuchada.Ra@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.2081-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suputar Thaor.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.