Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58664
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย พัวจินดาเนตร-
dc.contributor.authorภานุวัฒน์ อนันตวิรุฬห์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-05-03T01:43:04Z-
dc.date.available2018-05-03T01:43:04Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58664-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาค่าเผื่อระยะห่างการอัดขึ้นรูปของแม่พิมพ์สำหรับผลิตภัณฑ์ผ้าหลังคา ซึ่งเป็นส่วนประกอบของการผลิตผ้าหลังคารถยนต์ของโรงงานตัวอย่าง (2) เพื่อลดของเสียโฟมแตกในกระบวนการผลิตผ้าหลังคา โดยได้ศึกษางานวิจัยนี้เริ่มจาก (1) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับกระบวนการอัดขึ้นรูปผ้าหลังคา (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความหนาชิ้นงานผ้าหลังคากับของเสียโฟมแตก (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระยะห่างการอัดขึ้นรูปกับของเสียโฟมแตก (4) คำนวณหาระยะห่างการอัดขึ้นรูปที่สัมพันธ์กับความผันแปรของความหนาชิ้นงานที่ได้ โดยใช้หลักการวิเคราะห์ด้วยเทคนิควิธี Root Sum of Square และ Dynamic Root Sum of Square (5) เปรียบเทียบของเสียโฟมแตกก่อนและหลังการปรับระยะห่างการอัดขึ้นรูปชิ้นงาน จากการศึกษาพบว่า (1) ค่าเผื่อระยะห่างการอัดขึ้นรูปสำหรับชิ้นงานผ้าหลังคาภายหลังการศึกษาเท่ากับ 3.545±0.231 มิลลิเมตร ขณะที่ระยะห่างเดิมมีค่าเท่ากับ 3.500±0.300 มิลลิเมตร (2) กระบวนการอัดขึ้นรูปผ้าหลังคาก่อนการศึกษามีค่า Cp,Cpk เดิมเท่ากับ (0.86, 0.41) เพิ่มขึ้นเป็นค่า Cp,Cpk ใหม่เท่ากับ (1.18, 1.07) และ (3) ปริมาณของเสียโฟมแตกลดลงจาก 3.54% เป็น 0.96% หรือคิดเป็นลดลงร้อยละ 72.88 หลังจากการปรับปรุงen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aimed (1) to improve the tolerance of compression molding for headlining manufacturer which is component part of the vehicle, (2) to reduce the defect of foam headlining crack. The study started (1) to study the parameter related to compression molding, (2) to study the relationship between foam headlining thickness and crack problem. (3) to study compressive distance related with foam headlining thickness and crack, (4) to determine the mold compression distant allowance using the root sum of squares (RSS) and dynamic root sum of squares (DRSS), (5) to implement production and compare to previous study. The result of study found that (1) the distance allowance of mold compression was 3.545±0.235 millimeter whereas the existing distance allowance was 3.500±0.300 millimeter and difference is 0.045±0.065 millimeter. (2) the process capabilities (Cp.Cpk) of the foam headlining compression molding were improved from (0.86, 0.41) to (1.18, 1.07) respectively., and (3) the quantity of foam crack defect was reduced from 3.54% to 0.96% or was reduced by 72.88% after improvement.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.738-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโพรงแบบ (งานหล่อ)en_US
dc.subjectโพลิยูริเธนen_US
dc.subjectวัสดุโฟมen_US
dc.subjectกรรมวิธีการผลิตen_US
dc.subjectMolding (Founding)en_US
dc.subjectPolyurethanesen_US
dc.subjectFoamed materialsen_US
dc.subjectManufacturing processesen_US
dc.titleการพัฒนาค่าเผื่อข้อกำหนดการผลิตสำหรับผลิตภัณฑ์ขึ้นรูปอัดโดลียูรีเทนโฟมen_US
dc.title.alternativeManufacturing specification tolerance development for polyurethane foam compression molding producten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomchai.Pua@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.738-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phanuwat Anantawirun.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.