Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิ่นรัฏ์ กาญจนัษฐิติ-
dc.contributor.advisorสัญชัย หมายมั่น-
dc.contributor.authorรณันธร คุณะศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2008-02-19T10:56:15Z-
dc.date.available2008-02-19T10:56:15Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743464204-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5875-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractวิเคราะห์หาแนวทางการอนุรักษ์ที่เหมาะสมกับอาคารบ้านพักอาศัย ซึ่งได้รับอิทธิพลตะวันตก สร้างในช่วงรัชกาลที่ 5-7 โดยเลือกกรณีศึกษาเฉพาะบ้านซึ่งมีโครงสร้างไม้ และครึ่งตึกครึ่งไม้ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 30 หลังโดยประมาณ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง และจากการสำรวจเพิ่มเติม โดยมุ่งเน้นที่จะเสนอแนวทางการอนุรักษ์ และวิธีปฏิบัติที่เหมาะสมในการอนุรักษ์อาคาร ในเบื้องต้น จากการวิเคราะห์ปัญหาในปัจจุบันนั้น บ้านพักอาศัย ซึ่งเป็นกรณีศึกษาดังกล่าว ต้องเผชิญกับปัญหาโดยรวมในหลายๆ ประการ ทั้งจากการถูกรื้อถอนทำลาย ผลกระทบจากสภาพแวดล้อม การทำลายคุณค่าเดิมของอาคารเนื่องจากขาดความเข้าใจ ในการ เลือกวิธีการอนุรักษ์ที่เหมาะสม เมื่อประเมินคุณค่าอาคารกรณีศึกษาพบว่า บ้านเหล่านี้มีคุณค่าในหลายๆ ด้าน อันได้แก่ คุณค่าทางประวัติศาสตร์ คุณค่าทางสุนทรียภาพ คุณค่าทางด้านสถาปัตยกรรม คุณค่าทางสังคมและคุณค่าเนื่องจากประโยชน์ใช้สอย และจากผลการประเมินคุณค่า มีบ้านอยู่บางหลังที่ควรค่าแก่การขึ้นทะเบียนโบราณสถาน แต่ก็จัดได้ว่าเป็นส่วนน้อยเมื่อเทียบกับจำนวนทั้งหมดของอาคารที่มีอยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม จากผลสรุปการวิจัย มีข้อเสนอแนะว่า บ้านแต่ละหลังที่อยู่ในขอบเขตของอาคารที่ศึกษานั้น ควรได้รับการอนุรักษ์ที่เหมาะสม โดยการกำหนดแนวความคิดในการอนุรักษ์นั้น มีเกณฑ์สำคัญที่ควรพิจารณาอันได้แก่ คุณค่าที่ประเมินได้ ศักยภาพในการอนุรักษ์ของอาคารแต่ละหลัง และวัตถุประสงค์ในการอนุรักษ์ แนวความคิดที่ได้นี้ จะใช้เป็นกรอบในการออกแบบขั้นตอนในการอนุรักษ์อาคารต่อไป สำหรับภาครัฐและเอกชน ควรมีการส่งเสริมให้มีมาตรการสร้างแรงจูงใจในการอนุรักษ์ ทั้งด้านกฎหมายและการลงทุน เพื่อให้เจ้าของอาคารมีทางเลือกมากขึ้นที่จะอนุรักษ์บ้านไว้ หรือฟื้นฟูในมีชีวิตใหม่ ปรับการใช้สอยให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ก่อนที่บ้านพักอาศัยที่มีคุณค่าเหล่านี้จะทยอยหายไป จากกรุงเทพมหานครจนหมดสิ้นen
dc.description.abstractalternativeTo analysis and find a proper approach to preserve the western influenced houses built between the reign of King Rama V and King Rama VII In this study, more than 30 houses were selected to be used as case studies. The information was collected by surveying the architecture, interviewing the house owners and reviewing of related literature. Then the data was analyzed in order to fine the practical ways to preserve these architecture from further deterioration and demolition. From the study, it is found that these houses face a lot of problems. These problems are included in the study. One of these problems is caused by unproperly reabilitation due to the lack of understanding in conservation process. In the research, the values of historic houses are evaluated. These are historical value aesthetic value architecture value social value used value. Some of the case studies are considered of high value in several aspects and should be listed in the National Register of Historic Place However there are only a few comparing to the whole. In conclusion, Historic timber houses house should be preserved properly by considering the conservation concept which consists of 3 criteria : their values in various aspects, their potentials in rehabilitation and the objective in conservation. These criteria should be used as a frame work when a conservation plan is created. The government and private sectors should cooperated, both in legal and investment term, in creating the conservation incentive building program. Since this can provide the owners with more choices to preserve, revive or adapt them. The conservation of historic timber house needs to be carried out urgently before these houses disappear altogether.en
dc.format.extent22022264 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.112-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectบ้าน -- ไทยen
dc.subjectสถาปัตยกรรม -- ไทย -- อิทธิพลตะวันตกen
dc.titleการศึกษาเพื่อการอนุรักษ์บ้านพักอาศัยไม้ซึ่งได้รับอิทธิพลตะวันตก สร้างในช่วงรัชกาลที่ 5-7en
dc.title.alternativeThe study for conservation concept of western influenced timber houses between the reign of King Rama V and King Rama VIIen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPinraj.K@chula.ac.th-
dc.email.advisorSanchai.M@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.112-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ranuntorn.pdf21.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.