Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58799
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริเดช สุชีวะ-
dc.contributor.advisorเอมอร จังศิริพรปกรณ์-
dc.contributor.authorพรรณฉวี ประยูรพรหม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-05-20T09:42:08Z-
dc.date.available2018-05-20T09:42:08Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58799-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัดความถนัดทางวิชาชีพครูไทยโดย 1) สังเคราะห์องค์ประกอบความถนัดจากเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูแบบวัดความถนัดของต่างประเทศและครูที่ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ 2) สร้างแบบวัดคู่ขนานฉบับ A และฉบับ B 3) ตรวจสอบคุณภาพโดยทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างนิสิต นักศึกษาครูชั้นปีที่ 4 จำนวน 503 คน หาค่าความตรงเชิงโครงสร้าง วิธีเปรียบเทียบกลุ่มรู้ชัดระหว่างครูประจำการกับครูที่ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ หาค่าความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์ระหว่างคะแนนความถนัด เกรดเฉลี่ย และคะเแนนวิชาครู 4) สร้างปกติวิสัย โดยทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 998 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) เพื่อสร้างปกติวิสัย ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบวัดความถนัดทางวิชาชีพครูไทย ประกอบด้วย แบบวัดความสามารถทางภาษา แบบวัดความสามารถทางคณิตศาสตร์ แบบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ แบบวัดความสามารถทางการแก้ปัญหา แบบวัดความสามารถทางมนุษยสัมพันธ์ แบบวัดความสามารถทางการเข้าใจตนเองและผู้อื่น แบบวัดความสามารถทางการวางแผน แบบวัดความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และแบบวัดความสามารถทางการคิดสร้างสรรค์ 2. แบบวัดคู่ขนานฉบับ A และ ฉบับ B มีค่าความยากระหว่าง .45-.75 และค่าอำนาจจำแนกมีค่าระหว่าง .49-.80 3. แบบวัดฉบับนี้มีความตรงเชิงเนื้อหา โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้องในความเห็นของผู้เชี่ยวชาญระหว่าง .05-1.00 และผลจากวิธีกลุ่มรู้ชัด พบว่าครูที่ได้รับรางวัลเชิงชูเกียรติมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าครูประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่ามีความตรงเชิงโครงสร้าง ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนความถนัดกับเกรดเฉลี่ย คะแนนความถนัดกับคะแนนวิชาครู และเกรดเฉลี่ยกับคะแนนวิชาครู มีค่าเท่ากับ .516, .542 และ .730 ตามลำดับ โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่ามีความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์ สำหรับค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายในมีค่าระหว่าง .80 ถึง .94 4. ปกติวิสัย แสดงเป็นตารางความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนดิบ เปอร์เซนต์ไทล์ และคะแนนที่ปกติ โดยแสดงในแต่ละด้านและโดยรวม ซึ่งคะแนนที่ปกติมีค่าระหว่าง 27 ถึง 76 คะแนนen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to develop Thai teacher professional aptitude test. The procedures of the study were as fellow : 1) The teachers' aptitude was synthesized from teacher professional standard, international aptitude tests and national reward teachers. 2) Constructing the Parallel test Form A and Form B by using all those factors. 3) Using the test with a sample of teacher students for verifying the test quality by engaging 503 students tested item difficulty, discriminating power, reliability and construct validity. 4) Constructing the norms by engaging 998 students tested norms. The major findings were as fellows : 1) This test consisted of Thai Verbal ability test, Number ability test, Analytical thinking ability test, Problem solving ability test, Human relation ability test, Know self and others ability test, Planning ability test, Technological ability test and Creative thinking ability test. 2) The item difficulty of test Form A and Form B was between .45 to .75 and discriminating power was between .49 to .80. 3) The index of consistency (IOC) had range content validity between .50-1.00. Result from using the Known Group Technique revealed the Thai teacher professional aptitude of teachers was significance higher than general teachers at .05 level, suppporting the construct validity. The criterion-related validity indicating relationship of this test and achievement, this test and educaiton study and achievement and educaiton study were .516, .542 and .730 respectively and had significance at .01 level. The internal consistency reliability coefficient ranged from .80-.94 4) According to the norm construction the norm showed in the table of relationship between raw score, percentile and normalized T-score which were classified into Thai teacher professional aptitude in each factor and in the overall picture. The normalized T-scores were between 27 to 76.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1354-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectครูen_US
dc.subjectการทดสอบความถนัดทางอาชีพen_US
dc.subjectการสร้างมาตรวัด (สังคมศาสตร์)en_US
dc.subjectTeachersen_US
dc.subjectOccupational aptitude testsen_US
dc.subjectScaling (Social sciences)en_US
dc.titleการพัฒนาแบบวัดความถนัดทางวิชาชีพครูไทยen_US
dc.title.alternativeThe development of Thai teacher professional aptitude testen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineการวัดและประเมินผลการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSiridej.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1354-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panchawee Prayurnprohm.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.