Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58860
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-05-25T09:02:46Z | - |
dc.date.available | 2018-05-25T09:02:46Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58860 | - |
dc.description | ธรณีวิทยาทั่วไป : ธรณีวิทยาภูมิภาค ; ธรณีวิทยาเขตการเลื่อนตามแนวระดับในภาคตะวันตกของประเทศไทย -- การวิเคราะห์ธรณีวิทยาโครงสร้าง : การประมวลข้อมูลเชิงพื้นที่ ; การวิเคราะห์ธรณีวิทยาโครงสร้าง ; การวิเคราะห์ธรณีวิทยาโครงสร้างจุลภาค ; การวิเคราะห์ปริมาณความเครียดของหิน -- ผลการวิเคราะห์ธรณีวิทยาโครงสร้าง : ผลการประมวลข้อมูลเชิงพื้นที่ ; ธรณีวิทยาโครงสร้าง ; ธรณีวิทยาโครงสร้างจุลภาค ; ปริมาณความเครียดของหิน | en_US |
dc.description.abstract | เขตรอยเฉือนแม่ปิงที่มีการวางตัวในทิศตะวันตกเฉียงเหนือแสดงหินโผล่จำพวกหินแปรที่มีชื่อว่าลาน สางไนส์ในจังหวัดตาก ภาคตะวันตกของประเทศไทย หินในเขตการเลื่อนตามแนวระดับประกอบด้วยหินออโธ ไนส์และพาราไนส์ ด้วยวิธีของ Fry สำหรับการวิเคราะห์ความเครียดในสองมิติแสดงอัตราความเครียดเฉลี่ยของ ระนาบเท่ากับ 1.35–1.69 ผลการศึกษาตีความว่าหินที่มีการเปลี่ยนลักษณะเนื้อเดียวภายในเขตรอยเฉือนแม่ปิ งมี การเฉือน ตัวชี้บ่งการเคลื่อนที่ทั้งจากหินโผล่และระดับจุลภาคบ่งชี้การเคลื่อนที่แบบซ้ายเข้า รูปร่างของวงรี ความเครียดแสดงกระบวนการเปลี่ยนลักษณะซึ่งส่งผลให้ธรณีวิทยาโครงสร้างมีการสะสมความเครียดอยู่ภายใน และในท้ายที่สุดเกิดการเปลี่ยนลักษณะในกระบวนการเฉือนแบบซ้ายเข้าซึ่งเกิดขึ้นในเขตรอยเฉือนแม่ปิ งในทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The NW trending Mae Ping shear zone exposes a high grade metamorphic rocks named Lansang gneiss in Tak region, western Thailand. The lithologies within the strike–slip zone mainly consist of the orthogneisses and paragneisses. Using Fry's method for 2-dimensional strain analysis showed that the averaged finite strain ratio (Rs) of XY-plane is Rs = 1.35–1.69. The results implied that the homogeneously deforming rocks within the Mae Ping shear zone have the simple shear. The kinematic indictors from both outcrop and microscopic scales indicates the sinistral sense of movement. The shape of strain ellipses intenses the deformation process that applied and lead structural geology accumulated strain inside. And it finally deformed in the process of sinstral simple shear, which applied in the Mae Ping shear zone in the direction of NW-SE. | en_US |
dc.description.sponsorship | กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ประจำปีงบประมาณ 2557 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เขตรอยเลื่อน -- ไทย (ภาคตะวันตก) | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยา -- ไทย (ภาคตะวันตก) | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย (ภาคตะวันตก) | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ธรณีวิทยาโครงสร้างบริเวณเขตการเลื่อนตามแนวระดับภาคตะวันตกของประเทศไทย : รายงานวิจัย | en_US |
dc.title.alternative | Structural geology analysis within the strike-slip zone, western Thailand | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.email.author | Pitsanupong.K@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
b2147137x _Pitsanupong Ka.pdf | 2.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.