Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58886
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาวิน สุประดิษฐ ณ อยุธยา-
dc.contributor.advisorTakateru Umeda-
dc.contributor.authorเสริมยุทธ แย้มเกตุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-05-26T09:41:32Z-
dc.date.available2018-05-26T09:41:32Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58886-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการผลิตชิ้นส่วนงานอลูมิเนียมที่มีความแข็งแรงสูง เพื่อใช้ในด้านการขนส่งในปัจจุบันนั้น มีการพัฒนาอะลูมิเนียมที่มีความแข็งแรงสูงมากพิเศษ แต่พบว่ามีข้อจำกัดในการหล่อแท่งโลหะด้วยกระบวนการหล่อแบบต่อเนื่อง (Conventional DC casting) ที่เกิดการแตกร้าวภายในแท่งโลหะระหว่างการแข็งตัว จึงทำให้การผลิตเป็นไปด้วยความยากลำบาก การจะป้องกันไม่ให้เกิดการแตกกร้าวภายในแท่งโลหะระหว่างการแข็งตัวนั้น ต้องอาศัยการเกิดเกรนที่มีขนาดเล็กละเอียดสม่ำเสมอทั่วแท่งโลหะ ตลอดจนต้องไม่เกิดความเครียดเนื่องจากความแตกต่างของอุณหภูมิภายในกับอุณหภูมิที่ผิวของแท่งโลหะในปริมาณที่สูง ด้วยเหตุนี้การหล่อแบบต่อเนื่องภายใต้การประยุกต์ใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ต่ำ จะช่วยให้เกิดแรงกวนน้ำโลหะตลอดเวลาระหว่างการแข็งตัวจึงส่งผลให้ได้แท่งโลหะที่มีเกรนขนาดเล็กละเอียดและสม่ำเสมอ ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาพฤติกรรมการแข็งตัวของแท่งโลหะอะลูมิเนียมผสมสังกะสี-แมกนีเซียม-ทองแดง ความแข็งแรงสูงมากเป็นพิเศษที่หล่อด้วยกระบวนการหล่อแบบต่อเนื่องภายใต้การประยุกต์ใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้า ในแง่มุมของขนาดและการกระจายตัวของเกรนในโครงสร้างจุลภาค ตลอดจนการเกิดโครงสร้างยูเท็คติกเฟสต่างๆ อันได้แก่ Al+eta(MgZn₂), α Al+eta(MgZn₂)+T(Al-Zn-Mg-Cu) และ theta(CuAl₂) ที่เกิดขึ้นระหว่างการแข็งตัวของแท่งโลหะ โดยที่ลำดับและปริมาณการเกิดขึ้นของโครงสร้างยูเท็คติกเฟสต่างๆนั้น ในงานวิจัยนี้ก็มีการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบรูปแบบการแข็งตัวจากการวิเคราะห์ชิ้นงานจริงกับการคำนวณจากสมการการแข็งตัวในระบบของ Gulliver-Scheilen_US
dc.description.abstractalternativeThe production of high strength Al-alloy is highly expected especially for the automobile application. A newly developed super high strength Al-Zn-Mg alloy, unfortunately, occurs easily the formation of cracks during solidification, which is so-called hot tearing (internal crack). Its application is severely limited due to the difficulty of obtaining sound ingots of this alloy through conventional direct chill casting (DC). To prevent hot tearing during solidification, fine grain size and minimum thermal stress generated in solidifying ingot are requested. Under a low frequency electromagnetic field, there is a forced convection in the melt during solidification, which results in the formation of finer and uniform grains. In this work the solidification behavior of billet under a low frequency electromagnetic field was investigated. The effect of electromagnetic force on grain refinement was firstly confirmed. Secondly solute redistribution or micro-segregation was measured and microscopic solidification progress was considered to compare the calculation describe solute redistributions which obtained from the assuming of Gulliver-Scheil equation as well as the formation of the smaller eutectic phases, such as α Al+eta(MgZn₂), α Al-eta(MgZn₂)+T(Al-Zn-Mg-Cu) and θ(CuAl₂) were investigated.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1024-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสังกะสีen_US
dc.subjectทองแดงen_US
dc.subjectแมกนีเซียมen_US
dc.subjectโลหะผสมอะลูมินัมen_US
dc.subjectสนามแม่เหล็กไฟฟ้าen_US
dc.subjectการทำให้เป็นของแข็งen_US
dc.subjectZincen_US
dc.subjectCopperen_US
dc.subjectMagnesiumen_US
dc.subjectSolidificationen_US
dc.subjectAluminum alloysen_US
dc.subjectElectromagnetic fieldsen_US
dc.titleพฤติกรรมการแข็งตัวของแท่งโลหะอะลูมิเนียมผสมสังกะสี-แมกนีเซียม-ทองแดง ความแข็งแรงสูงมากพิเศษที่หล่อด้วยกระบวนการหล่อแบบต่อเนื่องภายใต้การประยุกต์ใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeSolidification behavior of continuously cast super high strength Al-Zn-Mg-Cu alloy ingot under the application of electromagnetic fielden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโลหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorMawin.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1024-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sermyut_ya_front.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open
sermyut_ya_ch1.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
sermyut_ya_ch2.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open
sermyut_ya_ch3.pdf2.8 MBAdobe PDFView/Open
sermyut_ya_ch4.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open
sermyut_ya_ch5.pdf527.36 kBAdobe PDFView/Open
sermyut_ya_back.pdf488.5 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.