Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตยา โตควณิชย์-
dc.contributor.authorกนิษฐา หมู่งูเหลือม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-05-26T14:28:43Z-
dc.date.available2018-05-26T14:28:43Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58910-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractศึกษา (1) ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่ออาหารสร้างสุขภาพ และ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคต่ออาหารสร้างสุขภาพ โดยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ จากกลุ่มตัวอย่างทั้งเพศชายและเพศหญิงที่ใส่ใจดูแลสุขภาพ อายุระหว่าง 22-49 ปี อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่ออาหารสร้างสุขภาพ อยู่ในระดับปานกลาง 2) พฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีต่ออาหารสร้างสุขภาพ อยู่ในระดับต่ำ และ 3) ทัศนคติในมิติที่ 1) อาหารสร้างสุขภาพกับการให้รางวัลตนเอง 2) ความเชื่อมั่นในอาหารสร้างสุขภาพ 3) ความจำเป็นของการบริโภคอาหารสร้างสุขภาพ 4) การเป็นส่วนหนึ่งของอาหารเพื่อสุขภาพ และ 5) ความปลอดภัยของอาหารสร้างสุขภาพ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับพฤติกรรมของผู้บริโภค ขณะที่ทัศนคติในมิติรสชาติของอาหารสร้างสุขภาพ มีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับพฤติกรรมของผู้บริโภค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.description.abstractalternativeTo examine (1) consumers’ attitude and behavior toward functional foods and (2) the relationship between consumers’ attitude and behavior toward functional foods. The survey research was used to collect data from 400 samples of males and females who are health conscious, aged 22-49 years old, and living in Bangkok. The research found that: 1) Overall consumers’ attitude toward functional foods is at the average level. 2) Overall consumers’ behavior toward functional foods is below the average level. and 3) Consumers’ attitude toward functional foods was significantly and positively related with consumers’ functional foods consumption in 5 dimensions - 1) Personal reward, 2) Confidence in functional foods, 3) Necessity for functional foods, 4) Functional foods as part of a healthy diet and 5) Safety of functional foods. While attitude toward taste of functional foods and consumers’ functional foods consumption was significantly and negatively related at 0.05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.395-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาหารเพื่อสุขภาพ -- การตลาดen_US
dc.subjectอาหารฟังก์ชัน -- การตลาดen_US
dc.subjectผู้บริโภค -- ทัศนคติen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectFunctional foods -- Marketingen_US
dc.subjectConsumers -- Attitudesen_US
dc.subjectConsumer behavioren_US
dc.titleทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคต่ออาหารสร้างสุขภาพen_US
dc.title.alternativeConsumers' attitude and behavior on functional foodsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการโฆษณาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorrataya.t@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.395-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KanitthaMoonguluem.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.