Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58928
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKruawun Jankaew-
dc.contributor.authorNattawat Chaardee-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2018-05-28T02:23:37Z-
dc.date.available2018-05-28T02:23:37Z-
dc.date.issued2010-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58928-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010en_US
dc.description.abstractExploration in the Mergui Basin, located in the Andaman Sea offshore Southern Thailand, has so far been unsuccessful. There were no commercial hydrocarbons found in this basin. Previous study has focused on structure and trap but had overlooked source rock study. It was deemed necessary to study the geochemical and basin modeling in order to understand the petroleum system of this basin. Source rock cutting samples from 7 wells (Kra Buri-1, Kantang-1A, Thalang-1, W9-A-1, Mergui-1, W9-D-1 and W9-E-1) were geochemically analyzed including Total Organic Carbon content (TOC), Rock-Eval pyrolysis and vitrinite reflectance to determine their source rock potential, organic matter type and thermal maturity. Geochemical interpretations are made based on results from this study and from previous studies by oil companies. Source potential of the analyzed sediments are generally poor to fair. Organic-rich beds representing good or very good potential source rocks were discovered but are rather thin. Organic matter type within the sample sediments is predominantly gas-prone (type III) kerogen or mixed oil/gas-prone (type II/III-Type III SEA kerogen). The basin modeling of Kra Buri-1, W9-E-1 and Thalang-1 wells shows depth of petroleum generation at about 9,500-10,000 feet and had been started since 7 Ma in the shallow part of the basin (Kra Buri-1 well) and 17 Ma in the deeper part of the basin (W9-E-1 well).en_US
dc.description.abstractalternativeแอ่งเมอร์กุย เป็นแอ่งสะสมตะกอนยุคเทอร์เชียรีในทะเลอันดามันฝั่งตะวันตกของประเทศไทย การสำรวจปิโตรเลียมในแอ่งเมอร์กุยยังไม่พบแหล่งปิโตรเลียมที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ ที่ผ่านมาการศึกษาเน้นความสนใจไปที่หินกักเก็บและโครงสร้างกักเก็บแต่ยังไม่ได้เน้นการศึกษาด้านหินต้นกำเนิดปิโตรเลียม การศึกษานี้จึงเน้นศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนธรณีเคมีของหินต้นกำเนิดปิโตรเลียม และการสร้างแบบจำลองการสะสมตัวของแอ่งเมอร์กุย เพื่อเพิ่มความเข้าใจระบบปิโตรเลียมของแอ่งเมอร์กุยให้ดียิ่งขึ้น การศึกษาครั้งนี้ได้นำตัวอย่างเศษชิ้นหินจากหลุมเจาะจำนวน 7 หลุม (Kra Buri-1, Kantang-1A, Thalang-1, W9-A-1, Mergui-1, W9-D-1 และ W9-E-1) มาวิเคราะห์ธรณีเคมีหินต้นกำเนิดปิโตรเลียม ประกอบด้วย TOC, Rock-Eval Pyrolysis และ Vitrinite Reflectance เพื่อหาปริมาณถ่านอินทรีย์รวม ชนิดของสารอินทรีย์ในหินต้นกำเนิด และความพร้อมในการให้ปิโตรเลียม ผลการวิเคราะห์ที่ได้เมื่อนำไปรวมกับข้อมูลการศึกษาในอดีตโดยบริษัทน้ำมัน พบว่าปริมาณถ่านอินทรีย์ที่มีอยู่ในหินส่วนใหญ่ในแอ่งเมอร์กุยมีศักยภาพในการเป็นหินต้นกำเนิดน้อยถึงปานกลาง มีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่มีศักยภาพอยู่ในช่วงดีหรือดีมากแต่ปรากฏเป็นชั้นบางๆ ชนิดของสารอินทรีย์ในหินตัวอย่างพบเป็น Type III และ Type II/III (Type III SEA) เป็นส่วนใหญ่ ระบุได้ว่าปิโตรเลียมที่ได้จะเป็นแก๊สธรรมชาติเป็นหลักโดยมีโอกาสพบน้ำมันและคอนเดนเสทร่วมด้วย หินที่มีศักยภาพเป็นหินต้นกำเนิดส่วนใหญ่ยังไม่พร้อมที่จะให้ปิโตรเลียม (immature) ผลการสร้างแบบจำลองแอ่งสะสมตะกอนของหลุม Kra Buri-1, W9-E-1 และ Thalang-1 พบว่าหินต้นกำเนิดจะมีความพร้อมให้กำเนิดปิโตรเลียมที่ความลึก 9,500 ถึง 10,000 ฟุต เริ่มกำเนิดเมื่อ 7 ล้านปีที่ผ่านมาในส่วนตื้นของแอ่ง (หลุม Kra Buri-1) และ 17 ล้านปีที่ผ่านมาในส่วนลึกของแอ่ง (หลุม W9-E-1)en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.674-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPetroleum -- Geologyen_US
dc.subjectRocks -- Analysisen_US
dc.subjectAndaman Seaen_US
dc.subjectMergui Basinen_US
dc.subjectปิโตรเลียม -- ธรณีวิทยาen_US
dc.subjectหิน -- การวิเคราะห์en_US
dc.subjectทะเลอันดามันen_US
dc.subjectแอ่งเมอร์กุยen_US
dc.titleCharacteristics of petroleum source rock and basin modelling of Mergui Basin, Andaman Sea, Thailanden_US
dc.title.alternativeลักษณะเฉพาะของหินต้นกำเนิดปิโตรเลียมและการสร้างแบบจำลองแอ่งสะสมตะกอนของแอ่งเมอร์กุย ทะเลอันดามัน ประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineGeologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorKruawun.J@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.674-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattawat Ch.pdf3.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.