Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58931
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธราพงษ์ วิทิตศานต์-
dc.contributor.authorตรีนุช จิวรเศรษฐ์กุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-05-28T02:33:38Z-
dc.date.available2018-05-28T02:33:38Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58931-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษากระบวนการแตกตัวแอลดีพีอีไปเป็นไขพอลิเอทิลีนด้วยความร้อนภายในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก โดยศึกษาหาภาวะที่เหมาะสมการเตรียมในไขพอลิเอทิลีนเพื่อให้ได้คุณสมบัติตามต้องการจากการแตกตัวด้วยความร้อนของแอลดีพีอีในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก โดยจะศึกษาตัวแปร ซึ่งได้แก่ อุณหภูมิ 350-380 องศาเซลเซียส เวลาในการเกิดปฏิกิริยา 30-90 นาที ความดันเริ่มต้น 0-150 ปอนด์/ตารางนิ้ว ชนิดของแก๊สไนโตรเจนและไฮโดรเจน และเปอร์เซ็นต์ของเตตระริน 0.5-5.0 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ผลิตภัณฑ์ไขที่ได้จะนำไปคำนวณหาร้อยละของผลิตภัณฑ์ พร้อมทั้งวิเคราะห์จุดหลอมเหลวและวัดความหนืด ด้วยเครื่องดิฟเฟอเรนเชียลสแกนนิ่งแคลอรี่มิเตอร์และเครื่องวัดความหนืด ตามลำดับ เพื่อตรวจสอบว่าคุณสมบัติตรงตามความต้องการนำไปใช้ประโยชน์ จากการวิจัยพบว่าภาวะที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการแตกตัวแอลดีพีอีด้วยความร้อนในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก ซึ่งจะให้ร้อยละของผลิตภัณฑ์ไขพอลิเอทิลีนมากกว่า 97 % จุดหลอมเหลวในช่วง 105-109 องศาเซลเซียส และความหนืดระหว่าง 544-1800 เซนติพอยด์ อุณหภูมิ 360-370 องศาเซลเซียสและเวลาในการเกิดปฏิกิริยา 30-70 นาที ส่วนความดันเริ่มต้นไม่มีผลต่อร้อยละและคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ไขพอลิเอทิลีน นอกจากนี้ยังพบว่าเตตระรินจะมีส่วนร่วมในกลไกการแตกตัวด้วยความร้อน ซึ่งจะส่งผลให้จุดหลอมเหลวและความหนืดของผลิตภัณฑ์ไขพอลิเอทิลีนที่ได้ลดลงen_US
dc.description.abstractalternativeThermal cracking of LDPE to Polyethylene wax in microreactor is investigated in this work. The effect of the reaction conditions including cracking temperature between 350 and 380C, reaction time was 30-90 minutes, initial pressure from 0 to150 psi, Tetralin solvent percent of 0.5-5.0 %weight and gas type are nitrogen and hydrogen on the yield and properties of polyethylene wax — such as melting point and viscosity. The Polyethylene wax has a melting point ranges of 105-109 ◦C. The viscosity ranges from 544 to 1,800 Cps.; the yield is over 97%. The proper cracking temperature is 360-370◦C and reaction time of 30 – 70 minutes. Initial pressure does not affect the yield and properties of Polyethylene wax. Moreover, Tetralin participates in the thermal cracking mechanism, which decreases melting point and viscosity of Polyethylene wax.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2015-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโพลิเอทิลีนen_US
dc.subjectแวกซ์en_US
dc.subjectPolyethyleneen_US
dc.subjectWaxesen_US
dc.titleการเตรียมไขพอลิเอทิลีนจากการแตกตัวด้วยความร้อนของแอลดีพีอีในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็กen_US
dc.title.alternativePreparation of polyethlene wax by thermal cracking of LDPE in microreactoren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTharapong.V@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.2015-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Threenuch jivorasetkul.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.