Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58952
Title: การเตรียมไบโอพอลิเมอริกนาโนพาร์ติเคิลที่บรรจุกลูโคซามีนสำหรับใช้ในการรักษาโรคข้อเสื่อม : รายงานการวิจัย ปีที่ 1
Other Titles: Preparation of biopolymeric nanoparticles containing glucosamine for treatment of Osteoarthritis
Authors: ปราณี เลิศสุทธิวงค์
วราวุฒิ ตั้งพสุธาดล
Email: ไม่มีข้อมูล
Varawut.T@Chula.ac.th
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ
Subjects: โพลิเมอร์ชีวภาพ
อนุภาคนาโน
กลูโคซามีน
กลูโคซามีน -- การใช้รักษา
ข้อเสื่อม -- การรักษา
Biopolymers
Nanoparticles
Glucosamine
Glucosamine -- Therapeutic use
Osteoarthritis -- Treatment
Issue Date: 2554
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ในงานวิจัยนี้เป็นการเตรียมอนุภาคขนาดนาโนที่บรรจุกลูโคซามีนจากการเกิดไอโอโนโทรปิคเจล เลชั่นของแคลเซียมคลอไรด์ แอลจิเนต และไคโตซานหรืออนุพันธ์ที่มีหมู่แอมโมเนียมซึ่งมีประจุบวก ถาวร 2 ชนิด คือ เอ็น,เอ็น,เอ็น-ไทรเมทิลแอมโมเนียมไคโตซานคลอไรด์ (TMC, %DQ=35) และเอ็น-[(2- ไฮดรอกซิล-3-ไทรเมทิลแอมโมเนียม)โพรพิล]ไคโตซานคลอไรด์ (HTCC, %DQ=11, 33) การโซนิเคต เป็นเวลา 20 นาที เป็นผลให้ขนาดอนุภาคเล็กลง 36.8% อย่างไรก็ตามในงานวิจัยนี้พบว่าไม่มีความสัมพันธ์ โดยตรงระหว่างขนาดอนุภาคกับการเปลี่ยนน้ำหนักโมเลกุลของไคโตซาน การใช้ HTCC จะให้อนุภาคที่ มีขนาดเล็กกว่าการใช้ไคโตซานและ TMC ที่มีความเข้มข้นของสารละลายเท่ากัน เมื่อใช้ HTCC ที่มี DQ สูง (33%) จะให้อนุภาคที่มีขนาดเล็กกว่า HTCC ที่มี DQ ต่ำ (11%) และลักษณะของอนุภาคเป็นแบบมี ชั้นหุ้มแกนกลางดังผลวิเคราะห์โดยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน
Other Abstract: Glucosamine-loaded nanoparticles were prepared based on ionotropic gelation method using calcium chloride, alginate, and chitosan or two chitosan derivatives that carried permanent positively charged ammonium groups. The two derivatives synthesized in this work were N,N,N-trimethylammonium chitosan chloride (TMC) with degree of quaternization (DQ) of 35% and N-[(2-hydroxyl-3-trimethylammonium)propyl]chitosan chloride (HTCC) with DQ of 11 and 33%. Appling the sonication for 20 min caused the reduction of particle size by 36.8%. However no direct relationship between molecular weight of chitosan and the particle size was observed. At the same concentration of cationic polymers, the use of HTCC tended to give smaller particle size than did the chitosan or TMC. The HTCC with high DQ (33%) when incorporated with alginate gave smaller particle size than the one with lower DQ (11%). The particle had a core-shell feature as characterized by transmission electron microscope
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58952
Type: Technical Report
Appears in Collections:Metal - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pranee Le_Res_2554.pdf487.99 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.