Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5895
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ เพ็งปรีชา | - |
dc.contributor.author | แน่งน้อย วิจิตรจรรยากุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2008-02-20T02:57:48Z | - |
dc.date.available | 2008-02-20T02:57:48Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9743465251 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5895 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์(วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการบำบัดค่าซีโอดีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมฟอกหนังโดยวิธีตกตะกอนและออกซิเดชั่น การทดลองทำโดยใช้ตัวช่วยตกตะกอน 3 ชนิด ได้แก่ อลูมิเนียมซัลเฟต โพลี่อลูมิเนียมคลอไรด์ และเฟอร์รัสซัลเฟต และตัวออกซิไดซ์ 4 ชนิด ได้แก่ อากาศ โพแทสเซี่ยมเปอร์แมงกาเนต โซเดี่ยมไฮโปคลอไรด์ และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ การทดสอบหาสภาวะที่เหมาะสมจะใช้วิธีทดสอบของดันแคน (Duncan's new multiple range test) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า อลูมิเนียมซัลเฟตเป็นตัวช่วยตกตะกอนที่ดีที่สุด เมื่อเปรียบเทียบในรูปแบบของผลการบำบัดค่าซีโอดีและค่าใช้จ่ายในการบำบัด ใช้อลูมิเนียมซัลเฟตที่ความเข้มข้น 200 มิลลิกรัมต่อลิตร พีเอช 7 ให้ค่าเฉลี่ยของประสิทธิภาพการบำบัดค่าซีโอดี 30.87% โพแทสเซี่ยมเปอร์แมงกาเนตเป็นตัวออกซิไดซ์ที่ดีที่สุดที่ความเข้มข้น 600 มิลลิกรัมต่อลิตร และให้ค่าเฉลี่ยของประสิทธิภาพการบำบัดค่าซีโอดี 51.37% | en |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study the reduction of COD in wastewater from tannery industry by coagulation and oxidation. The experiments were carried out by using 3 coagulants such as aluminium sulfate, polyaluminium chloride and ferrous sulfate and 4 oxidants such as air, potassium permanganate, sodium hypochlorite and hydrogen peroxide. The appropriate condition was used according to the Duncan's new multiple range test at 0.05. The results showed that aluminium sulfate was the best coagulant in term of efficiency and cost effective. Aluminium sulfate was used at concentration of 200 milligram per liter, pH 7, the COD reduction efficiency at 30.87%. Potassium permanganate was the best oxidant at the concentration of 600 milligram per liter and the COD reduction efficiency at 51.37%. | en |
dc.format.extent | 3508052 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมฟอกหนัง -- การใช้น้ำ | en |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด -- การรวมตะกอน | en |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด -- ออกซิเดชัน | en |
dc.title | การบำบัดค่าซีโอดีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมฟอกหนัง โดยวิธีตกตะกอนและออกซิเดชั่น | en |
dc.title.alternative | Reduction of COD in wastewater from tannery industry by coagulation and oxidation | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Somchai.Pe@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nangnoi.pdf | 3.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.