Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58993
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรัตน์ โหราชัยกุล-
dc.contributor.authorน้ำผึ้ง ทัศนัยพิทักษ์กุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-06-03T02:59:12Z-
dc.date.available2018-06-03T02:59:12Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58993-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractศึกษาพัฒนาการความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกากับมาเลเซีย หลังเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 โดยวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่เป็นสาเหตุผลักดันให้ทั้งสองประเทศดำเนินการปรับความสัมพันธ์ระหว่างกัน อันนำไปสู่ความร่วมมือระหว่างกันอย่างใกล้ชิดในช่วงเวลาดังกล่าว การศึกษานี้ได้นำเอาแนวความคิดว่าด้วยการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันเป็นกรอบในการวิเคราะห์ โดยวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีสมมุติฐานที่ว่า "เหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ว่าด้วยนโยบายต่อต้านการก่อการร้าย เป็นภาวะเงื่อนไขที่ทำให้มาเลเซียปรับความสัมพันธ์กับสหรัฐอเมริกา เพื่อผลักดันการเปิดการค้าเสรี และเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อมาเลเซียในการจัดการกับปัญหาการเมืองภายใน และเพื่อรักษาฐานเศรษฐกิจของชนชั้นกลางชาวมลายู" จากการศึกษาพบว่า หลังเกิดเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 นโยบายหลักของสหรัฐอเมริกาต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือ การต่อต้านการก่อการร้าย สิ่งที่เกิดขึ้นในกรณีของมาเลเซียคือ การได้ร่วมลงนามเขตการค้าเสรี และมีความร่วมมือด้านความมั่นคงเป็นอย่างมากกับสหรัฐอเมริกา ซึ่งการที่จะเข้าใจความสัมพันธ์ของทั้งสองประเทศนั้น ไม่ได้เพิ่งจะเกิดขึ้นหลังจากเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 แต่เป็นความต่อเนื่องที่มีมาในแง่ของการดำเนินนโยบายเสรีนิยมของรัฐบาลมาเลเซียตั้งแต่ยุคมหาธีร์ ฉะนั้นเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 จึงเป็นตัวเร่งที่ทำให้มีความร่วมมือระหว่างกันเร็วยิ่งขึ้น เนื่องจากทั้งสองฝ่ายต่างก็ต้องการที่ประสานความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สำหรับความร่วมมือทางด้านความมั่นคง สิ่งที่พบคือมีความร่วมมืออย่างกว้างขวาง แต่ดำเนินไปในลักษณะที่มาเลเซียระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง เพราะมาเลเซียต้องคำนึงถึงทัศนะของโลกมุสลิมทั้งในประเทศและนอกประเทศ ในการให้ความร่วมมือกับสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรมคือ การที่มาเลเซียยืนยันไม่ให้มีการคงกองกำลังทหารในประเทศของตนen_US
dc.description.abstractalternativeTo study on U.S.-Malaysian relations after September 11, 2001. Employing the concept of interdependence as a framework of analysis factors affecting the U.S. and Malaysia relations after September 11, 2001. The hypothesis of this thesis is that diplomatic normalization and close relations between these two countries after September 11, 2001, was determined by their respective economic and security interests in the context of a changing international situation from “war on terrorism”. According to the study, the U.S. counter-terrorism policy toward Southeast Asia after September 11, 2001, have deeply effected on close relationship on economic and security cooperation. In economic relations, the U.S. and Malaysia signed a free trade agreement (FTA). Actually, both countries have continually cooperated on economic since Mahathir’s liberalism policy. Therefore, September 11, 2001 have accelerated their closer relations. Although they have a connection increasingly on security, Malaysia has to concern about public opinion and Muslim world attitude. For example, Malaysia is against the U.S. conducting any sort of military-like operation in the country.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1080-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectมาเลเซีย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- สหรัฐอเมริกาen_US
dc.subjectมาเลเซีย -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- สหรัฐอเมริกาen_US
dc.subjectสหรัฐอเมริกา -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- มาเลเซียen_US
dc.subjectสหรัฐอเมริกา -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- มาเลเซียen_US
dc.subjectMalaysia -- Foreign relations -- United Statesen_US
dc.subjectUnited States -- Foreign relations -- Malaysiaen_US
dc.subjectMalaysia -- Foreign economic relations -- United Statesen_US
dc.subjectUnited States -- Foreign economic relations -- Malaysiaen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกากับมาเลเซีย หลังเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001en_US
dc.title.alternativeU.S.-Malaysian relations after September 11, 2001en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSurat.H@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1080-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Namphueng Tassanaipitukkul.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.