Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59182
Title: | สัดส่วนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการกลับมาทำงานภายหลังการสูญเสียอวัยวะหรือสมรรถภาพของรยางค์ส่วนบนที่เกิดจากอุบัติเหตุเนื่องจากการทำงาน |
Other Titles: | Proportion and factors of return to work after upper limb amputations or impairments due to accidents at work |
Authors: | พิพัฒน์ พูลทรัพย์ |
Advisors: | พรชัย สิทธิศรัณย์กุล วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ |
Advisor's Email: | Pornchai.Si@Chula.ac.th Wiroj.J@Chula.ac.th |
Subjects: | ผู้สูญเสียอวัยวะ อุบัติเหตุ การทำงาน Amputees Accidents Work |
Issue Date: | 2552 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสัดส่วนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของการกลับมาทา งาน ภายหลังการ สูญเสียอวัยวะหรือสมรรถภาพของรยางค์ส่วนบนที่เกิดจากอุบัติเหตุเนื่องจากการทา งาน โดยใช้รูปแบบการศึกษา เป็นแบบเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บที่มือหรือแขนจนทา ให้เกิดการสูญเสีย อวัยวะหรือสมรรถภาพของอวัยวะ ที่กา ลังจะเข้ารับการประเมินการสูญเสียสมรรถภาพหรือได้รับการประเมินการ สูญเสียสมรรถภาพแล้ว ที่มาติดต่อรับค่าทดแทนในส านักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 1-11 ในกรุงเทพมหานคร และสา นักงานประกันสังคมจังหวัดนนทบุรี นครปฐม ปทุมธานี สมุทรสาครและจังหวัดสมุทรปราการ ระหว่าง วันที่ 1 กันยายน 2552 ถึง 31 มกราคม 2553 เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเองร่วมกับการ สัมภาษณ์ของเจ้าหน้าที่ มีผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด 732 คน โดยถูกตัดออกจากการศึกษาเนื่องจากข้อมูลไม่ สมบูรณ์ 34 ราย มีความพิการอยู่ก่อนทา การศึกษา 11 รายและอื่นๆ 7 ราย คงเหลือประชากรกลุ่มศึกษา 680 ราย คิดเป็นร้อยละ 92.9 ผลการศึกษาพบว่าสัดส่วนของการกลับมาทา งานภายหลังการสูญเสียอวัยวะหรือสมรรถภาพของรยางค์ ส่วนบนที่เกิดจากอุบัติเหตุเนื่องจากการทา งานเท่ากับร้อยละ 95.3โดยกลับมาทา งานในที่ทา งานเดิมและทา ตา แหน่งเดิม(เหมือนก่อนได้รับบาดเจ็บ) คิดเป็นร้อยละ 84.7 ของจา นวนผู้ที่กลับมาทา งานภายหลังการได้รับ บาดเจ็บ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการกลับมาทา งานภายหลังการสูญเสียอวัยวะหรือสมรรถภาพของรยางค์ส่วนบนที่ เกิดจากอุบัติเหตุเนื่องจากการทา งานอย่างมีนัยสา คัญทางสถิติ (p<0.05) ปัจจัยทางกายภาพได้แก่ ระยะเวลาการ ทา งานในตา แหน่งที่ได้รับบาดเจ็บ ตา แหน่งของอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ ร้อยละการสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะ การใช้กายอุปกรณ์ ปัจจัยที่ทา งานได้แก่ ตา แหน่งหน้าที่ที่ทา ก่อนได้รับบาดเจ็บ จา นวนพนักงานในที่ทา งานหรือ โรงงาน โดยสรุปจากการศึกษาในคร้ังนี้ พบว่า การสูญเสียอวัยวะจากอุบัติเหตุเนื่องจากการทา งาน ยังคงเป็น ปัญหาสา คัญของผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการต่างๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสา คัญและความสนใจ ในปัญหาดังกล่าวนี้ และควรจัดให้มีการป้ องกันการเกิดอุบัติเหตุดังกล่าวต่อไป |
Other Abstract: | The objective of this study is to determine proportion and factors of return to work after upper limb amputations or impairments due to accidents at work by using cross-sectional study. The sample was 732 subjects who have been injured at their upper limbs leading to amputations or impairments who received compensations at the Social Security Office in Bangkok, Nonthaburi, Nakornpathom, Pathumthani, Samutsakorn, and Samutprakarn during September 1st 2009 – January 31st 2010. Data were collected by self-administered questionnaires and interviewed by the officials, 52 subjects were disqualified. Therefore 680 subjects or 92.9% were included in the study. The results showed that proportion of returned to work after upper limb amputations or impairments due to accidents at work was 95.3% and 84.5% of these returned to their workplaces in the same positions. Significant factors related to return to work (p<0.05) were physical factors including duration of work, position of injured organs, percentage of total body impairment, prosthesis use and working factors such as previous position before injured and number of workers in their workplaces. In conclusion, this study revealed that amputations or impairments due to accidents at work are still workers’ problems in many workplaces. Concerned bodies must realize and pay attention to workers. Furthermore, prevention program should be set up and enforced in order to prevent such problems. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | อาชีวเวชศาสตร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59182 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.205 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2009.205 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pipat Poonsap.pdf | 2.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.