Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59267
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัสสร ลิมานนท์-
dc.contributor.authorกุญช์วรรณ นิดรกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยประชากรศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-06-29T11:15:16Z-
dc.date.available2018-06-29T11:15:16Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59267-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติต่อการอยู่เป็นโสดและปัจจัยที่น่าจะมี อิทธิพลต่อทัศนคติการอยู่เป็นโสดของสตรีในเขตกรุงเทพมหานคร การเลือกกลุ่มตัวอย่างใน การศึกษาครั้งนี้ เลือกใช้วิธีการแบบหลายขั้นตอน เป็นสตรีโสดอายุ 25-35 ปี จากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และที่อยู่อาศัยในชุมชนของกรุงเทพมหานคร มีจำนวนทั้งสิ้น 527 ราย เก็บข้อมูล โดยการใช้แบบสอบถาม โดยให้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง และใช้วิธีการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างที่ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ การศึกษาครั้งนี้ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีทัศนคติเชิงบวกต่อการอยู่เป็นโสด โดย ผลการวิเคราะห์ถดถอยแบบง่าย พบว่า ทัศนคติเชิงบวกเกี่ยวกับบทบาทและสถานภาพของสตรี ทัศนคติที่มีต่อเงื่อนไขและข้อจำกัดในการแต่งงาน การยอมรับของครอบครัวต่อการอยู่เป็นโสด และการมีทัศนคติเชิงลบต่อการมีบุตร มีความสัมพันธ์กับทัศนคติการอยู่เป็นโสด อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุ พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 12 ตัวแปร สามารถอธิบายการแปรผัน ของทัศนคติการอยู่เป็นโสดได้ร้อยละ 11.8 และผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุขั้นตอน พบว่า ทัศนคติ เกี่ยวกับบทบาทและสถานภาพของสตรี สามารถอธิบายการแปรผันของทัศนคติการอยู่เป็นโสดดี ที่สุดคือ ร้อยละ 4.6 รองลงมาคือ ตัวแปรทัศนคติที่มีต่อเงื่อนไขและข้อจำกัดในการแต่งงาน ทัศนคติต่อการมีบุตร การศึกษา และการยอมรับของครอบครัวต่อการอยู่เป็นโสดที่สามารถอธิบาย การแปรผันของทัศนคติการอยู่เป็นโสดเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 ร้อยละ 1.7 ร้อยละ 1.1 และร้อยละ 0.9 ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeThe study on attitudes toward Being Single of Women in Bangkok Metropolitan Area aimed to investigate factors affecting attitudes of Thai women toward being single. The multiple stage sampling technique was used to select 527 sampled women aged 25-35 who worked in the Government offices, State Enterprise, and those who lived in the communities in Bangkok Metropolitan Area. Self-administered questionnaire was used to collect data from those who were government officials and staff of the State enterprise, while face-to-face interview was used with women in the communities who may not be able to read or write well. The results obtained from Simple Regression Analysis revealed that respondents who had positive attitudes toward status and role of women, family’s acceptance of being single, attitudes toward conditions and constraints for getting married and negative attitudes toward having children and building up family were related to attitudes toward being single at the 0.05 statistical significance level. The results of the Multiple Regression Analysis indicated that the total 12 independent variables explained 11.8 percent of variation of the dependent variable. In addition, the result of Stepwise Multiple Regression Analysis revealed that positive attitude toward status and role of women could best explained the variation in attitude toward being single (4.6%) followed by other 4 variables; attitudes toward conditions and constraints for getting married, negative attitudes toward having children, women's education and family's acceptance of being single by increasing the explanatory power by 2.9%, 1.7%, 1.1% and 0.9% respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.824-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectSingle women -- Thailand -- Attitudesen_US
dc.subjectWomen -- Thailand -- Bangkoken_US
dc.subjectสตรี -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectสตรีโสด -- ไทย -- ทัศนคติen_US
dc.titleทัศนคติต่อการอยู่เป็นโสดของสตรีในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeAttitudes toward being single of women in Bangkok Metropolitan Areaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประชากรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorbhassorn.l@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.824-
Appears in Collections:Pop - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kunyawan Nidornkul.pdf15.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.