Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5931
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กวีไกร ศรีหิรัญ | - |
dc.contributor.advisor | ประวุฒิ แย้มยลงาม | - |
dc.contributor.author | วิริยะ เรืองวงศ์โรจน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-02-22T01:50:56Z | - |
dc.date.available | 2008-02-22T01:50:56Z | - |
dc.date.issued | 2545 | - |
dc.identifier.isbn | 9741718756 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5931 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 | en |
dc.description.abstract | ในการศึกษางานสถาปัตยกรรมไทยเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลามาก เพื่อใช้ในท่องจำและเรียนรู้ให้เกิดความชำนาญ จนสามารถทราบถึงชนิดและรูปแบบของงานสถาปัตยกรรมไทยนั้นๆได้ ดังนั้นในการศึกษาของงานวิจัยนี้จึงทำขึ้นเพื่อหาวิธีหรือเครื่องมือที่ช่วยย่นระยะเวลาดังกล่าว โดยอ้างอิงกรรมวิธีที่อยู่บนพื้นฐานของการเปรียบเทียบองค์ประกอบของงานสถาปัตยกรรมไทยต้นแบบ ซึ่งมีแหล่งข้อมูลเป็นรูปภาพ รูปถ่าย และข้อมูลทางเอกสารของอาจารย์ผู้ชำนาญงานสถาปัตยกรรมไทยที่ถ่ายทอดมาจากตัวงานสถาปัตยกรรมไทย ประเภทเจดีย์ เพื่อวิเคราะห์หาชนิด และลักษณะของเจดีย์นั้นๆ ว่าเป็นเช่นไร โดยในการวิจัยนี้ได้เลือกเจดีย์ทรงย่อมุม ในช่วงยุคสมัยของสุโขทัย และกรุงศรีอยุธยาเป็นพื้นฐานในการศึกษา ซึ่งนับเป็นเจดีย์ที่มีผลต่อพัฒนาการของเจดีย์ทรงดังกล่าวในปัจจุบัน ข้อมูลพื้นฐานที่สรุปจากแหล่งข้อมูลสถาปัตยกรรมไทยพื้นฐานของอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิต่างๆ นี้จะบ่งบอกถึงข้อมูลในเรื่องของลักษณะรูปทรง และรูปแบบตามยุคสมัย รวมถึงองค์ประกอบพื้นฐานบนตัวงานสถาปัตยกรรมไทยนั้น โดยทำการแยกกลุ่มตามลักษณะของรูปทรง และช่วงเวลาที่เจดีย์นั้นถูกทำการสร้างด้วยผลของการพัฒนาการรูปทรงในเวลาที่แตกต่างกัน และแปลงข้อมูลทางสถาปัตยกรรมไทยที่ได้เป็นข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ และนำไปพัฒนาเป็นโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้สถาปนิกที่สนใจสืบค้นหาข้อมูลองค์เจดีย์นั้น ให้ได้คำตอบที่ถูกต้องใกล้เคียงกับการบอกกล่าวของผู้ชำนาญงานทางด้านสถาปัตยกรรมไทยโดยตรง ด้วยวิธีการทางระบบผู้เชี่ยวชาญ หรือ Expert System ซึ่งโครงสร้างของโปรแกรมนี้จะช่วยให้สถาปนิก และบุคคลทั่วไปที่มีความรู้ทางสถาปัตยกรรมไทยประเภทเจดีย์ให้เกิดองค์ความรู้ที่เพิ่มพูนชึ้น | en |
dc.description.abstractalternative | To have an insight into Thai architecture takes a long time. The main purpose of this study is to devise a tool to compare elements of Thai architecture. The study's sources of information are pictures, photographs and documents. The focus is on Multiangular type Chedi (Thai's stupas) with indented corners built during Sukhothai and Ayutthaya periods. The reason why the styles of these Chedi (Thai's stupas) are chosen is because they influence the style of present-day Chedi (Thai's stupas). The information complied by experts on this indicates their styles and periods, including their distinctive features. All of the data is computerized and developed into computer aided software. This program computer help many architect and general people ,who have a little knowledge to search a Thai Architectural data. It is similar to answer from expert teacher which tell them. It is an expert system and can be used as a reference on Thai architecture : Chedi. This software will benefit laymen and architects alike. | en |
dc.format.extent | 5451084 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2002.333 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สถาปัตยกรรมไทย | en |
dc.subject | เจดีย์ -- ฐานข้อมูล | en |
dc.subject | ระบบผู้เชี่ยวชาญ (คอมพิวเตอร์) | en |
dc.title | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยวิเคราะห์รูปแบบและยุคสมัยของงานสถาปัตยกรรมไทย ประเภทเจดีย์ | en |
dc.title.alternative | Computer aided software for the analysis of the style and period of stupa (jade) in Thai architecture | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถาปัตยกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | skaweekr@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2002.333 | - |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
WiriyaRueng.pdf | 5.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.