Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59333
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | จินตนา สรายุทธพิทักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-08-08T09:16:39Z | - |
dc.date.available | 2018-08-08T09:16:39Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59333 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการพัฒนาด้านจิตพิสัยเพื่อสร้างเสริมสุขภาพนักเรียนหญิงที่อยู่ในวัยเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นใน 3 ด้าน คือ ด้านผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ ด้านการพัฒนาความตระหนัก จิตสำนึก ค่านิยม การตัดสินใจ และด้านการปฏิบัติเพื่อสร้างเสริมสุขภาพใน 10 ประเด็น และ 2) ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบที่พัฒนาขึ้นการพัฒนารูปแบบดำเนินการโดยการศึกษาแนวคิดและข้อมูลที่เกี่ยวของ รวมทั้งปัญหาและความต้องการของผู้เรียนและครู แล้วนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ และสังเคราะห์เป็นรูปแบบฉบับร่างโดยได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ และนำไปทดลองใช้ตามกระบวนการ PDCA จำนวน 3 รอบ เพื่อปรับปรุงก่อนนำไปใช้ทดลองตามแบบแผนการวิจัยเป็นเวลา 10 สัปดาห์ กับกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม ในโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และโรงเรียนพุทธจักรวิทยา ผลวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1) รูปแบบที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยขั้นตอนการเรียนการสอน 8 ขั้น คือ 1.1) การตรวจสอบค่านิยมของผู้เรียน 1.2) การสำรวจอภิปรายปัญหาสุขภาพ 1.3) การรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริง 1.4) การแสดงความคิดความรู้สึก 1.5) การวิเคราะห์ข้อมูล 1.6) การปฏิบัติ 1.7) การสรุป และ 1.8) การติดตามผลการปฏิบัติ 2) ผลการทดลองใช้พบว่า 2.1) กลุ่มทดลองทั้ง 2 โรงเรียน มีคะแนนเฉลี่ยทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ การพัฒนาความตระหนัก จิตสำนึก ค่านิยม การตัดสินใจ และด้านการปฏิบัติเพื่อสร้างเสริมสุขภาพหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ 2.2) กลุ่มทดลองทั้ง 2 โรงเรียน มีคะแนนเฉลี่ยหลังการทดลองทั้ง 3 ด้าน สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research were : 1) Develop a teaching learning model based on affective domain development to promote health care of women students in levels secondary school in 3 aspects which were : learning achieve, value development and performance concerning health. 2) Find the effective of the model development. Related theories, principles, approaches, researches including need and problem in learning and teaching were studied, analyzed and synthesized into a prepared model which received a critical review form groups of experts in various fields experimenting with two experimental group in Chulalongkorn University Demonstration Secondary School and Buddhajakvittaya School. The results of this research were 1) The developed model consisted of 8 teaching-learning steps : 1.1) pretesting students’ values, 1.2) investigating health problem situation, 1.3) collecting date, 1.4) expressing feelings and thinking, 1.5) analyzing data, 1.6) practicing selected values, 1.7) organizing value system, and 1.8) following-up 2) It was found from model experimentation that 2.1) Post-test mean women of both experimental groups in 3 aspects (learning achievement, value development and performance concerning health) were significantly health that the pre-test mean scores at the .05 level. 2.2) Post-test mean scores of both experimental groups in all 3 aspects were significantly higher than those of the control groups at the .05 level. | en_US |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ | en_US |
dc.subject | จิตพิสัย | en_US |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา -- สุขภาพและอนามัย | en_US |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการพัฒนาด้านจิตพิสัยเพื่อสร้างเสริมสุขภาพนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : รายงานการวิจัย | en_US |
dc.title.alternative | The development of a teaching – learning model based on affective domain to promote in lower school women students’ health | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.email.author | Jintana.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Edu - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jintana Sa_Res_2553.pdf | 4.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.