Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59447
Title: | A three-echelon multi-commodity location-routing problem |
Other Titles: | การออกแบบเครือข่ายการกระจายสินค้าแบบหลายลำดับชั้นจากปัญหาการเลือกสถานที่ตั้งและเส้นทางการขนส่งสำหรับสินค้าหลายประเภท |
Authors: | Patanapong Sanghatawatana |
Advisors: | Pongsa Pornchaiwiseskul Manoj Lohatepanont |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | Pongsa.P@Chula.ac.th,Pongsa.P@Chula.ac.th Manoj.L@chula.ac.th,lmanoj@gmail.com |
Subjects: | การกระจายสินค้าจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค การบริหารงานโลจิสติกส์ การขนส่งสินค้า Physical distribution of goods Business logistics Commercial products -- Transportation |
Issue Date: | 2017 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This research studies the problem of distribution network design. The purposes of this study are 1) to develop the mathematical model for redesign of current distribution network by focusing on reducing total distribution cost and 2) to develop new solution approach for large-scale complicated problem. This research formulates mixed integer linear programming for the three-echelon two-commodity Location Routing Problem (LRP). The objective function is to minimize facility operating and closure cost and distance cost. Due to large-scale of LRP, which is NP-hardness, this research proposes new sequential solution approach as following steps; 1) decomposing the LRP into two subproblems based on its structure, 2) establishing route by clustering algorithm and identifying shortest route from Traveling Salesman Problem (TSP), and 3) allocating proper warehouse and service center. The proposed model is tested by using data of distribution network from actual case, which consists of five distributed zones. In analyzed phase, both of the distribution network redesign for each particular zone and allowing the distribution across all zones are considered. Additionally, this research conducts sensitivity analysis on each problem. Totally, there are 66 scenarios to perform. The result indicates that solving all zones simultaneously contributes lower cost than solving each zone separately. The proposed solution provides better answer than solving the problem by exact approach, which gives lower cost with shorter computation time. Moreover, the solutions of the proposed model are tested in stochastic environmental by simulation technique. The results show that the redesign of distribution network by proposed model can provide better quality of answer than the current network. |
Other Abstract: | งานวิจัยนี้มีมุ่งเน้นศึกษาปัญหาของการออกแบบเครือข่ายการกระจายสินค้า โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบจำลองเพื่อออกแบบเครือข่ายการกระจายสินค้าที่มีสถานที่ตั้งบางส่วนเปิดดำเนินการอยู่แล้วโดยมุ่งเน้นให้มีต้นทุนในการกระจายสินค้าที่ต่ำลง และ 2) พัฒนาวิธีการในการหาคำตอบสำหรับปัญหาที่มีความซับซ้อนสูง แบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับปัญหาการเลือกที่ตั้งของสถานที่ให้บริการและการจัดเส้นทางการขนส่ง (Location Routing Problem: LRP) แบบสามระดับชั้นโดยมีสินค้าสองกลุ่มได้ถูกพัฒนาขึ้น สมการวัตถุประสงค์คำนึงถึงค่าใช้จ่ายในการเปิดและปิดดำเนินการของสถานที่ให้บริการ และต้นทุนการขนส่งตามระยะทาง เนื่องด้วยปัญหา LRP ที่ใช้ในงานวิจัยนี้เป็นปัญหาที่มีขนาดใหญ่ และยากต่อการหาคำตอบโดยใช้วิธีการที่ดีที่สุด งานวิจัยนี้จึงได้พัฒนาวิธีในการหาคำตอบขึ้นมาใหม่ มีขั้นตอนหลักดังนี้ 1) แบ่งปัญหาออกเป็นสองส่วนตามโครงสร้างของปัญหา LRP 2) การจัดกลุ่มของเส้นทางการขนส่ง และหาเส้นทางที่สั้นที่สุดจากปัญหาการเดินทางของพนักงานขาย (Traveling Salesman Problem: TSP) และ 3) กำหนดคลังสินค้าและศูนย์บริการที่เหมาะสม แบบจำลองถูกทดสอบโดยใช้ข้อมูลจากสถานการณ์จริงที่มีการกระจายสินค้าทั้งหมด 5 พื้นที่ ในการศึกษาได้วิเคราะห์ทั้งรูปแบบการกระจายสินค้าแยกแต่ละพื้นที่ และรูปแบบการกระจายสินค้าโดยรวมทุกพื้นที่เข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยังมีการทดสอบความไวของคำตอบ โดยมีการทดสอบทั้งหมด 66 สถานการณ์ ผลลัพธ์ที่ได้พบว่า การออกแบบเครือข่ายการกระจายสินค้าโดยรวมทุกพื้นที่เข้าด้วยกันมีต้นทุนการกระจายสินค้าที่ต่ำที่สุด อีกทั้ง วิธีการหาคำตอบที่พัฒนาขึ้นมาให้คำตอบที่ดีกว่าวิธีการหาคำาตอบที่ดีที่สุด โดยมีต้นทุนที่ต่ำกว่า และใช้เวลาในการหาคำตอบที่น้อยกว่า นอกจากนี้จากการจำลองสถานการณ์ภายใต้สภาวะที่ไม่แน่นอน พบว่าเครือข่ายการกระจายสินค้าที่ได้จากแบบจำลองให้ผลที่ดีกว่าเครือข่ายที่ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน |
Description: | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2017 |
Degree Name: | Doctor of Philosophy |
Degree Level: | Doctoral Degree |
Degree Discipline: | Logistics Management |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59447 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.314 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2017.314 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5587789820.pdf | 6.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.