Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59477
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรวิศ นฤปิติ-
dc.contributor.authorปวีร์ ทองไพบูลย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T05:06:21Z-
dc.date.available2018-09-14T05:06:21Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59477-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractในปัจจุบันสารสนเทศการจราจรเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต่อการวางแผนและจัดการปัญหาจราจรติดขัด สารสนเทศการจราจรที่ดีมาจากข้อมูลจราจรที่เป็นประโยชน์และมีความน่าเชื่อถือ การติดตามเส้นทางการจราจรเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์แต่รวบรวมได้ยากจากวิธีการเก็บข้อมูลการจราจรแบบดั้งเดิม งานวิจัยนี้ศึกษาการใช้อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณบลูทูธเพื่อเก็บข้อมูลจราจรและ สร้างการติดตามยานพาหนะบนโครงข่ายถนน การศึกษานี้ใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณบลูทูธจำนวน 40 จุด ที่ติดตั้งบนโครงข่ายถนนในเขตพื้นที่ชั้นในกรุงเทพมหานครและเก็บข้อมูลจำนวน 2 วัน MAC address และ เวลาที่ยานพาหนะผ่านอุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณบลูทูธจะถูกนำมาวิเคราะห์โดยวิธี Re-identification เพื่อสร้างเส้นทางการแล่นของยานพาหนะ โดยวิเคราะห์ลักษณะและความต่อเนื่องของข้อมูลการติดตามยานพาหนะที่ได้ และเสนอวิธีการตรวจสอบลักษณะการหาย และการประมาณเส้นทางในกรณีที่ข้อมูลเกิดการหายขึ้น ผลการศึกษาพบว่าจากข้อมูลการตรวจจับสัญญาณบลูทูธ สามารถนำมาสร้างข้อมูลจราจรและติดตามการเดินทางบนโครงข่ายถนนได้โดยสามารถสร้างทราบแบบแผน (pattern) การจราจร อาทิ จุดเริ่มต้นจุดสิ้นสุดการเดินทาง ลักษณะการเดินทางรายช่วงเวลาในหนึ่งวัน เวลาและเส้นทางการเดินทาง จำนวนการสิ้นสุดการเดินทางในแต่ละพื้นที่บนโครงข่ายในแต่ละช่วงเวลา และ ยังพบว่าข้อมูลมีความไม่ต่อเนื่องหรือการหายของข้อมูลร้อยละ 40 ซึ่งหากใช้การประมาณเส้นทางโดยใช้ระยะเวลาเดินทางสั้นที่สุดเทียบกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงพบว่าจะสามารถเพิ่มการติดตามเส้นทางได้อย่างมาก การศึกษาเลือก 3 กรณีศึกษา (6 เส้นทาง) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเลือกใช้เส้นทางและพบว่า ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้เดินทางเลือกเส้นทางที่มีเวลาในการเดินทางสั้นกว่า เมื่อเปรียบเทียบเส้นทางเลือกที่เป็นไปได้สองเส้นทาง-
dc.description.abstractalternativeNowadays, Traffic information is important and necessary for planning and solving traffic congestion. Good information comes from useful and reliable traffic data. Tracking of traffic route is useful data, yet difficult to collect from conventional traffic data collection method. This research investigates the use of Bluetooth detector device (BT) to collect traffic data and convert it into vehicle (traffic) tracking on road network. The study employed 40 BT units installed on Bangkok inner city road network and collected data for 2 days. MAC Addresses and times detected of Bluetooth device in network were collected. Data were analyzed by re-identification method. Characteristics of tracked data and continuity of data were examined. Characteristics of missing data were investigated and route estimation when data were missing was introduced. The result of the study shows that data from BT can create a pattern of traffic such as origin-destination, trip characteristic by time of day travel time per trip, route of travel, counts of trip at each area on the network and at each time period of day. It is found that data missing is originally around 40 percent in the study. If route estimation is employed, using possible shortest travel time route finding, then the possibility of route tracking is much improved. The study selected 3 cases (6 specific routes) to study the current route selection behavior and its travel time. The result shows that around half of the current Bangkok travelers chooses the shorter travel-time route, when two alternate routes are compared.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1332-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectจราจร-
dc.subjectอุปกรณ์ตรวจจับ-
dc.subjectCommunication and traffic-
dc.subjectDetectors-
dc.titleการติดตามเส้นทางจราจรจากอุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณบลูทูธ-
dc.title.alternativeTraffic route tracking by bluetooth detector device-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSorwit.N@chula.ac.th,kong@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1332-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5770220221.pdf4.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.