Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59544
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNutta Taneepanichskul-
dc.contributor.advisorVitool Lohsoonthorn-
dc.contributor.authorRatanee Kammoolkon-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. College of Public Health Sciences-
dc.date.accessioned2018-09-14T05:07:42Z-
dc.date.available2018-09-14T05:07:42Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59544-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2017-
dc.description.abstractIncense burning, a source of household indoor air pollution, is possible to effect on cardiovascular system. This study sought to examine the association of exposure to household incense smoke with increased Carotid intima-media thickness (CIMT) amongst people living in the central city of Sakon Nakhon province, Thailand. A one-year cohort study was conducted between July 2016 and September 2017. There were 132 participants at baseline and remained 100 participants after 1-year follow-up. Participants were stratified into three groups by frequentcy of incense use in their household; non-exposed group, non-daily exposed group, and daily exposed group. All participants were interviewed by questionnaire and underwent a clinical assessment, blood test and a carotid artery ultrasound. Household PM10 concentrations, temperature, and relative humidity (RH) were measured inside all of the participants’ home during the wet and the dry seasons. To find an association, multivariate analysis was performed with adjusted some potential confounding factors. The result showed the positive association between household burned incense and CIMT at common carotid artery (CCA) and left of common carotid artery (LCCA) but, not found in the CIMT of right of common carotid artery (RCCA) at baseline. After 1-year follow-up, the progression of CIMT in incense smoke exposure group were not found an association. For the average of PM10 concentrations inside house was 24.2±11.4 µg/m3. An increasing of 1 µg/m3 average indoor PM10 concentration were significant (p<0.05) associated with 8% increased risk of increased mean CCA (AOR = 1.08; 95%CI 1.01 - 1.15), 7% increased risk of increased maximum CCA (AOR = 1.07; 95%CI 1.01 - 1.12) and 3% increased risk of increased maximum LCCA (AOR = 1.03; 95%CI 1.01 - 1.09) but not for CIMT at RCCA. In conclusion, long-term exposure to incense smoke was associated with an increased CIMT. However, the progression of CIMT after a year of follow-up was not associated with incense smoke exposure but was associated with household particulate matter (PM10). Therefore, the policy for environmental health should be considered to provide the standard level of indoor/ residential air quality in Thailand.-
dc.description.abstractalternativeการจุดธูปเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษอากาศในบ้านเรือน ซึ่งสามารถส่งผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของการสัมผัสควันธูปในบ้านเรือนระยะยาวกับการเพิ่มความหนาของอินทิมา-มีเดียของหลอดเลือดคาโรติด ระหว่างประชาชนที่อาศัยอยู่ในกลางเมืองของจังหวัดสกลนคร ประเทศไทย การศึกษาแบบไปข้างหน้า 1 ปี ได้ดำเนินการระหว่างเดือนกรกฎาคม 2559 ถึง เดือนกันยายน 2560 มีอาสาสมัครจำนวน 132 คนในช่วงแรกของการศึกษา และเหลืออาสาสมัคร 100 คน หลังจากติดตามผล 1 ปี อาสาสมัครได้ถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มตามความถี่ของการใช้ธูปในบ้านเรือน ได้แก่ กลุ่มที่ไม่ได้สัมผัสควันธูป, กลุ่มที่สัมผัสธูปไม่ทุกวัน และกลุ่มที่สัมผัสธูปทุกวัน อาสาสมัครทั้งหมดจะถูกสัมภาษณ์โดยแบบสอบถาม และได้รับการตรวจทางคลินิค ได้แก่ ตรวจเลือด และอัลตราซาวน์หลอดเลือดแดงที่ลำคอ รวมถึงตรวจวัดความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร, อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ในบ้านเรือนในช่วงฤดูฝนและฤดูแล้ง การวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปรจะดำเนินการร่วมกับการปรับปัจจัยกวนบางตัวที่อาจเกิดขึ้น ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ในช่วงเริ่มการศึกษา มีความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างการจุดธูปในบ้านเรือนและความหนาของอินทิมา-มีเดียของหลอดเลือดคาโรติดเฉลี่ยรวมทั้งสองข้าง (CCA) และหลอดเลือดคาโรติดด้านซ้าย (LCCA) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ในความหนาของอินทิมา-มีเดียของหลอดเลือดคาโรติดด้านขวา (RCCA) หลังจากติดตามผล 1 ปี พบว่า พัฒนาการของความหนาของอินทิมา-มีเดียของหลอดเลือดคาโรติดไม่พบความสัมพันธ์ในกลุ่มที่สัมผัสควันธูป สำหรับค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร เท่ากับ 24.2±11.4 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตรในบ้านเรือนที่เพิ่มขึ้น 1 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มความเสี่ยงของการหนาขึ้นของค่าเฉลี่ย (mean) และค่าสูงสุด(maximum) ของความหนาอินทิมา-มีเดียในหลอดเลือดคาโรติดรวมทั้งสองข้าง (CCA) ร้อยละ 8 ร้อยละ 7 ตามลำดับ และ เสี่ยงต่อการเพิ่มความหนาของค่าสูงสุด (maximum) ของความหนาอินทิมา-มีเดียในหลอดเลือดคาโรติดด้านซ้าย (LCCA) ร้อยละ 3 อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) แต่ไม่พบความสัมพันธ์กับความหนาของหลอดเลือดคาโรติดด้านขวา (RCCA) สรุปได้ว่า การสัมผัสควันธูปในระยะยาวมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มความหนาของอินทิมา-มีเดียของหลอดเลือดคาโรติด แต่อย่างไรก็ตาม พัฒนาการของความหนาของอินทิมา-มีเดียของหลอดเลือดคาโรติดหลังจากติดตามผล 1 ปีนั้นไม่พบความสัมพันธ์กับการสัมผัสควันธูปแต่มีความสัมพันธ์กับฝุ่นละอองในบ้านเรือน ดังนั้น นโยบายด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมควรมีการกำหนดค่ามาตรฐานของคุณภาพอากาศภายในอาคารหรือในบ้านเรือนในประเทศไทย-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.493-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectCoronary heart disease-
dc.subjectAir -- Pollution-
dc.subjectหลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค-
dc.subjectมลพิษทางอากาศ-
dc.titleAN ASSOCIATION BETWEEN INCENSE SMOKE EXPOSURE AND INCREASED CAROTID INTIMA-MEDIA THICKNESS AMONG PEOPLE LIVING IN MUEANG DISTRICT, SAKON NAKHON PROVINCE: A COHORT STUDY-
dc.title.alternativeความสัมพันธ์ระหว่างการสัมผัสควันธูปและการเพิ่มความหนาของอินทิมา- มีเดียของหลอดเลือดคาโรติดในประชาชนที่อาศัยอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร: การศึกษาแบบไปข้างหน้า-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameDoctor of Philosophy-
dc.degree.levelDoctoral Degree-
dc.degree.disciplinePublic Health-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.email.advisorNutta.T@chula.ac.th,nutta.taneepanichskul@gmail.com-
dc.email.advisorVitool.L@Chula.ac.th,vitool@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.493-
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5779170153.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.