Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59571
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประกอบ กรณีกิจ-
dc.contributor.authorทศพร ทับวงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-09-14T05:08:25Z-
dc.date.available2018-09-14T05:08:25Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59571-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานฯ 2) เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานฯ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานฯ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ แบบประเมินรูปแบบ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของ Cornell Critical Thinking Test Level z แบบสอบถามความคิดเห็นการเรียนด้วยรูปแบบฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของรูปแบบประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านเนื้อหาของการเรียนด้วยการศึกษานอกสถานที่เสมือน 2) ระบบบริหารจัดการ 3) สื่อการเรียนรู้ 2. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย แบ่งได้ เป็น 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) ขั้นเตรียมการและกำหนดประเด็นปัญหา 2) ขั้นสำรวจและรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนที่ 3) ขั้นสรุปและนำเสนอ 3. ผลการทดลองใช้การพัฒนารูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ พบว่าคะแนนเฉลี่ยการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเมื่อเรียนด้วยรูปแบบฯ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were 1) to develop a virtual field trip using problem-based learning 2) to learning develop a virtual field trip using problem-based learning and 3) to propose a virtual field trip using problem-based learning to try out a virtual field trip using problem-based enhance critical thinking of upper level secondary school students. The samples for model experiment were 30 students. The research instruments consisted of an expert interview form, a model evaluation form, lesson plan and critical thinking test. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The results of this research were as follows: 1. The model comprised of 3 components as follows: 1) the content of the study by virtual field trip 2) Management System 3) learning Media 2. The learning activities were divided into the three phases including 1) preparation and problem determination 2) survey and Data Collection and 3) summarize and present 3. The research results found that the students average critical thinking after learning with the model were higher than before at a .05 level of significant.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.606-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการศึกษานอกห้องเรียน-
dc.subjectการเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน-
dc.subjectOutdoor education-
dc.subjectProblem-based learning-
dc.titleการพัฒนารูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย-
dc.title.alternativeDEVELOPMENT OF VIRTUAL FIELD TRIP USING PROBLEM-BASED LEARNING TO ENHANCE CRITICAL THINKING OF UPPER LEVELSECONDARY SCHOOL STUDENTS-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorPrakob.K@Chula.ac.th,Prakob.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.606-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5783330827.pdf4.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.