Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59857
Title: | ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักการทรงงานของรัชกาลที่ 9 และทฤษฎีพัฒนาด้านจิตพิสัยที่มีต่อเจตคติในการเรียนพลศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น |
Other Titles: | EFFECTS OF LEARNING MANAGMENT BASED ON THE KING RAMA 9'S PRINCIPLES OF WORK, AND AFFECTIVE DOMAIN THEORY ON ATTITUDE TOWARDS PHYSICALEDUCATION OF LOWER SECONDARY SCHOOL STUDENTS |
Authors: | ภัทรพงศ์ รัตนกาญจน์ |
Advisors: | สุธนะ ติงศภัทิย์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
Advisor's Email: | Suthana.T@Chula.ac.th,suthana.t@chula.ac.th |
Subjects: | พลศึกษา -- การศึกษาและการสอน Physical education and training -- Study and teaching |
Issue Date: | 2560 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามหลักการทรงงานของรัชกาลที่ 9 และทฤษฎีพัฒนาด้านจิตพิสัยที่ส่งผลต่อเจตคติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อเปรียบเทียบผลของความแตกต่างด้านเจตคติของกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้วิชาพลศึกษาโดยประยุกต์ใช้หลักการทรงงานของศาสตร์พระราชาและทฤษฎีพัฒนาด้านจิตพิสัยกับนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการเรียนการสอนวิชาพลศึกษาแบบปกติกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 50 คน โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร แบ่งออกเป็นนักเรียนที่ได้รับการจัดการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามหลักการทรงงานของรัชกาลที่ 9 และทฤษฎีพัฒนาด้านจิตพิสัย จำนวน 25 คน และนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้พลศึกษาแบบปกติ จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามหลักการทรงงานของรัชกาลที่ 9 และทฤษฎีพัฒนาด้านจิตพิสัย จำนวน 8 แผน และแบบวัดเจตคติต่อวิชาพลศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนนด้วยค่า “ที” ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติต่อวิชาพลศึกษาหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติต่อวิชาพลศึกษาหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
Other Abstract: | This research aims to 1) study the effects of the physical education based on the king’s rama 9’s principles of work, and affective domain theory on the attitude of students Grade 8 compare the different results between the experimental group which receive the physical education based on the king’s rama 9’s principles of work, and affective domain theory and control group which receive the normal physical education instruction. The participants were 50 students in students Grade 8 who were studying in one public school in Bangkok. The participants were divided into 2 groups. One group which received the physical education based on the king’s rama 9’s principles of work, and affective domain theory contained 25 students. Another group which received the normal physical education instruction contained 25 students. The research instruments were 8 lesson plans of the physical education based on the king’s rama 9’s principles of work, and affective domain theory and questionnaire of attitude toward physical education. The statistical data analyses were mean score, standard deviation and dependent t-test. The research findings were as follows. 1) The mean score of attitude toward physical education after the treatment of the experimental group was higher than before the treatment at the significance level of .05 2) The mean score of attitude toward physical education after the treatment of the experimental group was higher than the control group at the significance level of .05 |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 |
Degree Name: | ครุศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | สุขศึกษาและพลศึกษา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59857 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1580 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2017.1580 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5983347727.pdf | 5.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.