Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/599
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณนิภา รอดวรรณะ-
dc.contributor.authorชุติกาญจน์ ชำนาญพฤกษา, 2521--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2006-06-29T10:12:20Z-
dc.date.available2006-06-29T10:12:20Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745315052-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/599-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อการพัฒนาตัวแบบที่ใช้ในการพยากรณ์การจัดอันดับเครดิตของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและทดสอบความสามารถในการพยากรณ์ของตัวแบบที่ได้พัฒนาขึ้นโดยตัวแบบที่พัฒนาขึ้นนั้นสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการพยากรณ์แนวโน้มการจัดอันดับเครดิตของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การศึกษาใช้การวิเคราะห์จำแนกตัวแปร (Multivariate Analysis) และการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค (Logistic Regression Analysis) ในการระบุข้อมูลทางการเงินที่มีความสัมพันธ์กับการจัดอันดับเครดิต โดยข้อมูลทางการเงินที่ใช้ในการศึกษาเพื่อพัฒนาตัวแบบประกอบด้วยอัตราส่วนทางการเงินในงบการเงินในช่วงปี พ.ศ. 2542-2545 ผลการวิจัย พบว่า ข้อมูลทางการเงินที่มีความสัมพันธ์กับการจัดอันดับเครดิตของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้แก่ อัตราส่วนหนี้สินรวม ต่อยอดรวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนกำไรขั้นต้น ต่อยอดขาย และอัตราส่วนกำไร ก่อนดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและรายการตัดจ่ายต่อหนี้สินรวม โดยความถูกต้องในการจัดประเภทจากข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาตัวแบบจากการวิเคราะห์จำแนกประเภทสามารถจัดประเภทข้อมูลได้ถูกต้องโดยรวมร้อยละ 79.65 และตัวแบบ จากการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติคสามารถจัดประเภทข้อมูลได้ถูกต้องโดยรวมร้อยละ 78.76 สำหรับผลการทดสอบความสามารถในการคาดการณ์ของตัวแบบโดยใช้ข้อมูลที่ใช้ทดสอบ (Holdout Sample) จากข้อมูลทางการเงินในช่วงปี พ.ศ. 2546 พบว่า ตัวแบบจากการวิเคราะห์จำแนกประเภทสามารถพยากรณ์ผลการจัดอันดับเครดิตได้ถูกต้องโดยรวม 66.67 และตัวแบบจากการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติคสามารถพยากรณ์ผลการจัดอันดับเครดิตได้ถูกต้องโดยรวม 70.00 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผลการจัดอันดับเครดิตโดยนำตัวแบบมาวิเคราะห์จำแนกประเภทและวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติคมีความใกล้เคียงกับการประกาศผลการจัดอันดับเครดิตของบริษัท ทริสเรทติ้ง จำกัดen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to develop a model for prediction of credit rating and test predictability of the model. The model can be used to forecast credit rating for companies in The Stock Exchange of Thailand. This research used multivariate discriminant analysis and logistic regression analysis for selecting the financial information relevant to the credit rating. The financial information used in developing the model are financial ratios during the years 1999 to 2002. The research results indicate that the financial information relevant to the credit rating include total debt to total debt and equity ratio, gross profit to sale ratio and earning before interest tax depreciation and amortization to total debt ratio. The overall classification accuracy of multivariate discriminant analysis model is 79.65 percent and the overall classification accuracy of the logistic regression analysis model is 78.76 percent. According to the predictability test of the model from holdout sample using the financial information during the year 2003, the overall prediction accuracy of multivariate discriminant analysis model is 66.67 percent, and the overall prediction accuracy of logistic regression analysis model is 70.00 percent. The test results suggest that the credit rating determined from the model by using both multivariate discriminant analysis and logistic regression analysis approximate to the credit rating by TRIS.en
dc.format.extent712052 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.355-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการจัดอันดับสินเชื่อen
dc.subjectบริษัทมหาชน--การจัดอันดับen
dc.titleความสัมพันธ์ของดัชนีชี้วัดทางการเงินกับการจัดอันดับเครดิตของบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen
dc.title.alternativeThe relationship between financial key performance indicators and credit rating for companies in the stock exchange of Thailanden
dc.typeThesisen
dc.degree.nameบัญชีมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการบัญชีen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfcomprw@phoenix.acc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.355-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chutikan.pdf789.85 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.