Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60104
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ | - |
dc.contributor.author | ธนพล สุวรรณพงษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-09-14T06:07:08Z | - |
dc.date.available | 2018-09-14T06:07:08Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60104 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของผลการฝึกอนุมานสาเหตุที่ความพยายามที่มีต่อการผัดวันประกันพรุ่งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับโปรแกรมการฝึกอนุมานสาเหตุที่ความพยายามระหว่างระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง กรุงเทพมหานคร จำนวน 49 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 24 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย 1. แบบวัดการผัดวันประกันพรุ่งในการเรียนและ 2. โปรแกรมการฝึกการอนุมานสาเหตุที่ความพยายาม โปรแกรมนี้ประกอบด้วยกิจกรรมการฝึก จำนวน 10 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การทดสอบความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ (One-Way Repeated measure ANOVA) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการฝึกการอนุมานสาเหตุที่ความพยายามมีค่าเฉลี่ยจากแบบวัดการผัดวันประกันพรุ่งในการเรียนในระยะหลังการทดลองและติดตามผลไม่แตกต่างจากกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ได้รับการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) ในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผล ค่าเฉลี่ยจากแบบวัดการผัดวันประกันพรุ่งในการเรียนของกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการฝึกการอนุมานสาเหตุที่ความพยายามไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | - |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to 1) examine the difference between academic procrastination pretest, posttest, and delayed-posttest scores of students who received an attribution training and 2) compare academic procrastination posttest and delayed-posttest scores between students in an experimental group and those in a control group. Participants were 49 Matthayomsuksa 2 students from Matthayom Wat Nairong School, Bangkok, consisting of 24 experimental group students and 25 control group students. Instruments included 1) academic procrastination scale and 2) the program of attribution training to effort. The training program contained 10 periods with 50 minutes in each period. Data were analysed by One-Way Repeated measure ANOVA. The results were as follows 1) There were no significant differences among academic procrastination pretest, posttest and delayed-posttest scores of students in the experimental group at significant level. 2) There were no significant differences of academic procrastination posttest and delayed-posttest scores between students in the experimental group and these in the control group at significant level. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.817 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | ผลการฝึกอนุมานสาเหตุไปที่ความพยายามที่มีต่อการผัดวันประกันพรุ่งในการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 | - |
dc.title.alternative | EFFECTS OF ATTRIBUTION TRAINING TO EFFORT ON ACADEMIC PROCRASTINATION OF EIGHTH GRADE STUDENTS | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการศึกษา | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | Piyawan.P@chula.ac.th,p.punmongkol@gmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2017.817 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5883420727.pdf | 5.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.