Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60198
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชูศักดิ์ ลิโมทัย | - |
dc.contributor.advisor | สุดา จิรสกุลเดช | - |
dc.contributor.author | พีรยา ภิรมย์รื่น | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-09-14T06:10:43Z | - |
dc.date.available | 2018-09-14T06:10:43Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60198 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 | - |
dc.description.abstract | ที่มา: การพบ TIRDA ในEEG ของผู้ป่วยโรคลมชักจากสมองส่วนเทมพอรอล และฮิปโปแคมปัสฝ่อ มีหลักฐานว่า ช่วยบอกตำแหน่งจุดกำเนิดการชักได้ดี จึงคาดว่า ผลการควบคุมชักหลังผ่าตัดในผู้ป่วยที่พบ TIRDA น่าจะได้ผลดีด้วย วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการพบคลื่นไฟฟ้าสมอง TIRDA/TIRTA กับผลการควบคุมการชัก ภายหลังการรักษาด้วยการผ่าตัด ในผู้ป่วยโรคลมชักดื้อยาที่การชักเกิดจากสมองส่วนเทมพอรอล และฮิปโปแคมปัสฝ่อ วิธีการศึกษา: ประชากรตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคลมชักดื้อยาที่การชักเกิดจากสมองส่วนเทมพอรอล ร่วมกับ ฮิปโปแคมปัสฝ่อ 71 รายที่ได้รับการตรวจ VEM และทำการผ่าตัดเพื่อรักษาโรคลมชัก ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ช่วงปีพ.ศ. 2556-2560 เก็บรวบรวมข้อมูลย้อนหลังจากเวชระเบียน ทั้งข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลเรื่องโรคลมชักของผู้ป่วย ยากันชักที่รับประทาน ความถี่ของการชัก ทั้งก่อนและหลังผ่าตัด เป็นเวลาอย่างน้อย 1ปีและทบทวนผล EEG เพื่อหาลักษณะ TIRDA/TIRTA และ EEG ขณะที่มีการชัก และไม่มีการชัก ผลการศึกษา: ผู้ป่วยโรคลมชักดื้อยา ที่ได้รับการผ่าตัดเพื่อรักษาอาการชัก กลุ่มที่ไม่มีการกลับมาของอาการชัก (Engel Ia) เมื่อเทียบกับกลุ่มที่กลับมามีอาการชัก พบว่า TIRDA/TIRTA และ TIRDA alone เป็นปัจจัยที่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยมี Hazard ratio 0.27 (p=0.023, 95%CI 0.09-0.83) และเมื่อติดตามผลไปในระยะยาว ผู้ป่วยที่พบ TIRDA/TIRTA จะมีโอกาสกลับมาชัก น้อยกว่า กลุ่มที่ไม่พบ TIRDA หรือ TIRTA สรุปผล: ผู้ป่วยโรคลมชักดื้อยา ที่การชักเกิดจากสมองส่วนเทมพอรอล ร่วมกับ ฮิปโปแคมปัสฝ่อ ที่พบ TIRDA/TIRTA มีผลการควบคุมชักได้ดี มีโอกาสกลับมาชักน้อยกว่า กลุ่มที่ไม่พบTIRDA/TIRTA ภายหลังการรักษาโรคลมชักด้วยการผ่าตัด | - |
dc.description.abstractalternative | Background: Temporal intermittent rhythmic delta activity (TIRDA) is renowned as good suggestive for epileptogenic zone in temporal lobe epilepsy patient with hippocampal sclerosis. So the patient with TIRDA should be assumed to have good seizure control after surgery Objective: To prove whether TIRDA/TIRTA are prognostic of good surgical outcome in medically intractable temporal lobe epilepsy patient with hippocampal sclerosis Materials and Method: Seventy-one medically intractable temporal lobe epilepsy patient with hippocampal sclerosis who were performed presurgical VEM and epilepsy surgery at KCMH during 2013-2017 were enrolled. Demographic data, seizure characteristic, antiepileptic drugs, seizure frequency both before and at least one year after surgery were extract from medical record and EEG was reviewed to find any TIRDA/TIRTA, ictal-EEG onset, interictal epileptiform discharge. Results: TIRDA/TIRTA or TIRDA alone were found statistically significant different (p<0.05) between the patients with good seizure control after performed epilepsy surgery and those with seizure recurrence. Hazard ratio of TIRDA/TIRTA was 0.27 (p=0.023, 95%CI 0.09-0.83). In survival analysis, patients with TIRDA/TIRTA have less probability of seizure recurrence Conclusion: Medically intractable temporal lobe epilepsy patient with hippocampal sclerosis with TIRDA/TIRTA had good seizure control after surgery and less probability of seizure recurrence | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1625 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.title | การศึกษาความสัมพันธ์ของคลื่นไฟฟ้าสมองแบบคลื่นเดลตาและคลื่นทีตาที่สมองส่วนเทมพอรอลกับผลการรักษาด้วยการผ่าตัดในผู้ป่วยโรคลมชักดื้อยาที่การชักเกิดจากสมองส่วนเทมพอรอล | - |
dc.title.alternative | Is Temporal Intermittent Rhythmic Delta/Theta Activity (TIRDA/TIRTA) a Prognostic of Good Surgical Outcome in Intractable Temporal Lobe Epilepsy Patients? | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.email.advisor | Chusak.L@chula.ac.th,Chusak.L@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | suda_ju@yahoo.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2017.1625 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5974081230.pdf | 3.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.