Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60402
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีระพงษ์ ตัณฑวิเชียร | - |
dc.contributor.advisor | สุรสิทธิ์ ชัยทองวงศ์วัฒนา | - |
dc.contributor.advisor | ยง ภู่วรวรรณ | - |
dc.contributor.author | สุวิมล คูห์สุวรรณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-10-05T07:42:15Z | - |
dc.date.available | 2018-10-05T07:42:15Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60402 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en_US |
dc.description.abstract | ที่มา ประเทศไทยมีการฉีดวัคซีนในเด็กได้ครอบคลุมถึงร้อยละ 91-100 เพื่อป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมถึงโรคบาดทะยักตั้งแต่แรกเกิด โดยมีคำแนะนำให้ฉีดวัคซีนบาดทะยักกระตุ้นในหญิงตั้งครรภ์ 1-3 เข็มในกรณีที่ไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อนภายในระยะเวลา 10 ปีก่อนการตั้งครรภ์ โดยการฉีดวัคซีนกระตุ้นในคนที่ระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคบาดทะยักที่สูงแล้ว อาจมีผลข้างเคียง เช่น บวมแดงบริเวณที่ฉีดได้และอาจมีภาวะแพ้รุนแรง แต่พบได้น้อยมาก วิธีการศึกษา วัดระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อบาดทะยักในผู้หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 20 สัปดาห์เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก โดยหากระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อบาดทะยักอยู่ในระดับที่น้อยกว่า 0.2 IU/ml ด้วยวิธีการตรวจแบบ ELISA ผู้หญิงตั้งครรภ์จะได้รับการฉีดวัคซีนบาดทะยักกระตุ้น 2 เข็มระหว่างตั้งครรภ์โดยเข็มแรกเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 12 สัปดาห์และเข็มที่ 2 ห่างจากเข็มแรก 4 สัปดาห์ โดยจะมีการตรวจเลือดเพื่อวัดระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อบาดทะยักหลังการฉีดวัคซีนแต่ละเข็ม 4-6 สัปดาห์ ผลการศึกษา ร้อยละ 97.7 ของผู้หญิงตั้งครรภ์มีระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อบาดทะยักในระดับที่ป้องกันการเกิดโรคในตนเองได้นาน 1-2 ปี( tetanus antibody > 0.1 IU/ml) ร้อยละ 92.3 ของผู้หญิงตั้งครรภ์มีระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อบาดทะยักที่มากกว่า 0.2 IU/ml ซี่งหากมีการส่งผ่านภูมิคุ้มกันไปสู่ทารกแรกเกิดได้อย่างน้อย 50% จะสามารถป้องกันการเกิดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิดได้ และมีเพียงร้อยละ 63.5 ของผู้หญิงตั้งครรภ์มีระดับภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันโรคบาดทะยักในตนเองได้ 4-8 ปี( tetanus antibody > 1.0 IU/ml) สรุปผลการศึกษา ผู้หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มีประวัติการได้รับวัคซีนในช่วง 5-10 ปีก่อนการตั้งครรภ์หรือเป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรก ควรต้องได้รับการฉีดวัคซีนบาดทะยักกระตุ้นอยู่ 1 เข็ม | en_US |
dc.description.abstractalternative | Background In Thailand, EPI program were coverage all children about 91-100% in 2009 for prevention many diseases including tetanus. On recommendation, women with childbearing age should get tetanus vaccination if they did not get booster dose in the past 10 years. For persons who have enough tetanus antibodies, re-vaccination may cause side effect such as local swelling and tenderness or rare anaphylaxis. Methods Pregnant women with age more than 18 years old and GA less than 20 weeks were enrolled. If their tetanus antibody is less than 0.2 IU/ml by ELISA test, they will get Td 2 dose for boosting immunity after GA 12 weeks within 4 weeks interval. After vaccination, blood will be collected 4-6 weeks later for testing tetanus antibody. Results 97.8% of women from this study have minimal protective immunity more than 0.1 IU/ml by ELISA test. 92.3% of women have tetanus antibody more than 0.2 IU/ml. Only 63.5% of women had long durable tetanus antibody (more than 1 IU/ml by ELISA test) Conclusions Pregnant women in Thailand still need tetanus vaccination 1 dose. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2186 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | บาดทะยัก | en_US |
dc.subject | ภูมิคุ้มกัน | en_US |
dc.subject | Tetanus | en_US |
dc.subject | Immunity | en_US |
dc.title | การวัดระดับภูมิคุ้มกันต่อเชื้อบาดทะยักในผู้หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุมากกว่า 18 ปีที่มารับการฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ | en_US |
dc.title.alternative | Tetanus antibody level in pregnant women whose age more than 18 years old attending at ANC clinic in King Chulalongkorn Memorial Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Terapong.T@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Surasith.C@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Yong.p@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.2186 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suwimon_Kh.pdf | 677.66 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.