Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรเทพ จันทราอุกฤษฎ์-
dc.date.accessioned2018-10-18T06:29:43Z-
dc.date.available2018-10-18T06:29:43Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60457-
dc.description[สารบัญ] การคิดอย่างมีเหตุผล -- ความหมายของการคิดอย่างมีเหตุผล -- ประเภทของการคิดอย่างมีเหตุผล -- แนวทางการวัดความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล -- ความคิดสร้างสรรค์ -- ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ -- แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ -- องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ -- การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์กับการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ -- แนวทางการวัดความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ -- ปัญหาปลายเปิดในการเรียนการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ -- ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับปัญหาปลายเปิด -- ลักษณะของปัญหาปลายเปิด -- การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาปลายเปิดในการเรียนการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลและความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ปัญหาปลายเปิด 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลและความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ ระหว่างนักเรียนที่เรียนโดยใช้ปัญหาปลายเปิด และนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบทั่วไป 3) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลและความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ ระหว่างกลุ่มที่มีระดับผลการเรียนสูง ปานกลาง และต่ำ หลังเรียน โดยใช้ปัญหาปลายเปิด กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จานวน 68 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล 2) แบบวัดความสามารถในการคิด สร้างสรรค์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.นักเรียนที่เรียนโดยใช้ปัญหาปลายเปิด ได้คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล หลัง เรียนและก่อนเรียนไม่แตกต่างกัน คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการคิดอย่างสร้างสรรค์ หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.นักเรียนที่เรียนโดยใช้ปัญหาปลายเปิด ได้คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล หลัง เรียนไม่แตกต่างกับนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบทั่วไป คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการคิดอย่าง สร้างสรรค์สูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบทั่วไปอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนที่เรียนโดยใช้ปัญหาปลายเปิด ที่มีระดับความสามารถทางการเรียนสูง ปานกลาง ต่ำ ได้ คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล หลังเรียนแตกต่างกัน โดยนักเรียนที่มีระดับความสามารถทางการเรียนสูงได้คะแนนสูงกว่านักเรียนที่มีระดับความสามารถทางการเรียนปานกลางและต่า แต่นักเรียนที่มีระดับความสามารถทางการเรียนปานกลางกับนักเรียนที่มีระดับความสามารถทางการเรียนต่าได้คะแนนไม่แตกต่างกัน 4. นักเรียนที่เรียนโดยใช้ปัญหาปลายเปิด ที่มีระดับความสามารถทางการเรียนสูง ปานกลาง ต่ำ ได้ คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ หลังเรียนแตกต่างกัน โดยนักเรียนที่มีระดับความสามารถทางการเรียนสูงได้คะแนนสูงกว่านักเรียนที่มีระดับความสามารถทางการเรียนต่ำ แต่นักเรียนที่มีระดับ ความสามารถทางการเรียนสูงกับนักเรียนที่มีระดับความสามารถทางการเรียนปานกลางได้คะแนนไม่แตกต่างกัน และนักเรียนที่มีระดับความสามารถทางการเรียนปานกลางได้คะแนนสูงกว่านักเรียนที่มีระดับความสามารถ ทางการเรียนต่ำen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to 1) compare the rational thinking abilities and the creative thinking abilities of students, before and after learning through the open-ended problems, 2) compare the rational thinking and creative thinking abilities of students between the groups that learning through the open-ended problems, and the groups that learning through the conventional teaching methods, and 3) compare the rational thinking and creative thinking abilities of students that learning through the open-ended problems with different learning achievement levels (high, medium, and low levels). The subjects were 68 eighth grade students of Chulalongkorn University Demonstration Secondary School, during the second semester of Academic Year 2014. They were assigned to be and experimental group and a control group. The research instruments were 1) rational thinking abilities test, and 2) creative thinking abilities test. The collected data were then analyzed using arithmetic means, standard deviation, t-test and the One-Way Analysis of Variance (One-way ANOVA). The research findings were summarized as follows: 1. After the experiment, The mean score of rational thinking abilities of students learned through the open-ended problems did not significantly differ from the initial at the .05 level, whereas the mean score of creativity thinking abilities higher than before the experiment at the .05 level of significance 2. The students learned through the open-ended problems had rational thinking abilities mean score did not significantly differ from conventional teaching method at the .05 level. On the other hand, the students learned through the open-ended problems had creative thinking abilities mean score higher than those conventional teaching method at the .05 level of significance. 3. The students with different levels of learning achievements within the open-ended problems group had a post-test mean score significance difference at the .05 level of rational thinking abilities; those with high learning achievement levels scored higher on rational thinking compared to the middle and low learning achievement groups. Nevertheless, no statistically significant differences were observed between the mean scores for rational thinking abilities between the middle and low learning achievement groups. 4. The students with different levels of learning achievements within the open-ended problems group had a post-test mean score significance difference at the .05 level of creative thinking abilities; those with high and middle learning achievement levels scored higher on creative thinking compared to those in the low learning achievement group. Nevertheless, no statistically significant differences were observed between the mean scores for creative thinking abilities between the high and middle learning achievement groups.en_US
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนโดยเงินทุนเพื่อการวิจัย กองทุนคณะครุศาสตร์ ปี 2552en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectโครงงานวิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectการเรียนรู้จากการรู้คิดen_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์en_US
dc.titleผลของการใช้ปัญหาปลายเปิดในการเรียนการสอนโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลและการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสาธิตในสังกัดมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ : รายงานการวิจัยen_US
dc.title.alternativeEffects of using open-ended problems in science project instruction on rational thinking and creative thinking abilities of lower secondary school students in national university demonstration schoolen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorPornthep.Ch@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pornthep_Ch_Res_2561.pdfFulltext for Read Only1.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.