Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60568
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Siriporn Jongpatiwut | - |
dc.contributor.author | Hathairat Thongkorn | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College | - |
dc.date.accessioned | 2018-11-14T04:15:27Z | - |
dc.date.available | 2018-11-14T04:15:27Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60568 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2018 | en_US |
dc.description.abstract | Oil spills have become a global problem. This is one of the serious problems in marine environment. The spills are generally from reservoir zipping, accident or unauthorized drainage. Typically, the spilled oils are fuel oils or crude oils which are difficult to differentiate. After oil spill incident, oils are undergone weathering processes such as evaporation, dissolution, and biodegradation etc., which are main factor of depleting hydrocarbon. This work focuses on the distribution of hydrocarbon and diagnostic ratio of polycyclic aromatic hydrocarbons such as pristane, phytane, phenanthrene, pyrene, chrysene and biomarker in hopane group after weathering processes. Moreover, measuring of Al, Si and asphaltenes contents also study in this research. Five crude oils and four fuel oils were weathered in the sea water for 60 days. All samples were characterized by GC-FID and GCxGC-TOFMS followed NORDTEST methodology. Moreover, all samples were measured for asphaltenes contents and Al, Si contents in order to differentiate the types of oil. The result from weathering simulation showed that weathering had significantly affected the distribution of n-alkanes and generally used diagnostic ratio (pristane/phytane) including Al and Si contents changed seriously. However, pyrogenic index and asphaltenes contents can be used as indicators to differentiate fuel oils and crude oils since both of them are strong anti-weathering. | en_US |
dc.description.abstractalternative | เหตุการณ์น้ำมันรั่วจัดเป็นหนึ่งในปัญหาสำคัญของระบบนิเวศทางทะเล การรั่วไหลของน้ำมันเกิดได้จากหลายสาเหตุไม่ว่าจะเป็น อุบัติเหตุทางท่อขนส่ง หรือการลักลอบทิ้งน้ำมันโดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งน้ำมันส่วนใหญ่ที่รั่วไหลนั่นได้แก่ น้ำมันดิบ และน้ำมันเตา โดยเมื่อเกิดเหตุการณ์น้ำมันรั่ว น้ำมันเหล่านั้นจะถูกย่อยสลายด้วยกระบวนการทางธรรมชาติ เช่น การระเหย การกระจายตัวของน้ำมันในน้ำ และการย่อยสลายทางชีวภาพ เป็นต้น ซึ่งกระบวนการเหล่านี้ส่งผลให้องค์ประกอบของน้ำมันมีสัดส่วนลดลง และส่งผลให้ลักษณะการกระจายตัวขององค์ประกอบในน้ำมันดิบ และน้ำมันเตามีความคล้ายคลึงกัน ทำให้ยากต่อการระบุประเภทของน้ำมันที่รั่วไหล ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์ในการศึกษาการกระจายตัวของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน และหาดัชนีของตัวบ่งชี้เอกลักษณ์น้ำมันจากกลุ่มสารประกอบโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน และ ไบโอมาร์เกอร์กลุ่มโฮปเพน เพื่อทำการบ่งชี้ประเภทของน้ำมันที่รั่วไหล โดยงานวิจัยนี้ทำการทดสอบด้วยน้ำมันดิบ 5 ชนิด และน้ำมันเตา 4 ชนิดจากกระบวนการที่แตกต่างกัน โดยทำการจำลองเหตุการณ์น้ำมันรั่วลงในน้ำทะเลและเก็บตัวอย่างในวันที่ 0, วันที่ 7 และวันที่ 60 น้ำมันทุกตัวอย่างถูกวิเคราะห์โดยใช้เครื่องแก๊สโครมาโตกราฟฟี และวัดปริมาณโลหะอะลูมิเนียม และซิลิกอนด้วยเครื่องไอซีพี หรือเครื่องวัดเสปกตรัมแสงในช่วงความยาวคลื่นที่มองเห็น รวมทั้งวัดปริมาณแอสฟัลต์ทีนในน้ำมัน ผลที่ได้จากงานวิจัยพบว่าการวัดปริมาณโลหะอะลูมิเนียมยังมีความไม่เหมาะสมในการแยกประเภทน้ำมันเนื่องจากเมื่อผ่านกระบวนการสลายทางธรรมชาติแล้วจะส่งผลให้น้ำมันดิบมีปริมาณโลหะอะลูมิเนียมเข้มข้นขึ้นในระดับเดียวกับน้ำมันเตา จึงไม่สามารถบ่งชี้ประเภทของน้ำมันได้ แต่อย่างไรก็ตามจากงานวิจัยพบว่าไบโอมาร์กเกอร์ กลุ่มโฮปเพนมีความต้านทานต่อการสลายตัวทางธรรมชาติมากกว่าสารประกอบกลุ่มอื่นในน้ำมัน นอกจากนี้ดัชนีไพโรเจนิกซ์จากสารประกอบโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนและการวัดปริมาณแอสฟัลต์ทีนสามารถบ่งชี้ประเภทของน้ำมันที่รั่วไหลได้ | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.408 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Biochemical markers | en_US |
dc.subject | Pyrogens | en_US |
dc.subject | Asphaltene | en_US |
dc.subject | Oil spills -- Cleanup | en_US |
dc.subject | เครื่องหมายทางชีวเคมี | en_US |
dc.subject | ไพโรเจน | en_US |
dc.subject | แอสฟัลต์ทีน | en_US |
dc.subject | การกำจัดคราบน้ำมัน | en_US |
dc.title | Identification of crude oils and fuel oils after weathering using biomarkers, pyrogenic index and asphaltenes contents | en_US |
dc.title.alternative | การบ่งชี้น้ำมันดิบ และน้ำมันเตาที่ผ่านกระบวนการย่อยสลายทางธรรมชาติโดย ไบโอมาร์กเกอร์, ดัชนีบ่งชี้ไพโรเจนิกซ์ และ ปริมาณแอสฟัลต์ทีน | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Science | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Petroleum Technology | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Siriporn.J@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2018.408 | - |
Appears in Collections: | Petro - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Hathairat Th_Thesis_2018_.pdf | 3.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.