Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60620
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วุฒิพงษ์ ศิริจันทรานนท์ | - |
dc.contributor.author | ณฐพร ด่านพิษณุพันธุ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-11-26T07:44:06Z | - |
dc.date.available | 2018-11-26T07:44:06Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60620 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา(ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 | en_US |
dc.description.abstract | การดำเนินธุรกิจในรูปแบบของเครือบริษัทหรือกลุ่มบริษัทนั้น มักมีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง เพื่อต้องการความมั่นคงของโครงสร้างภายในกลุ่มบริษัท รวมไปถึงประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่จะได้รับด้วยทั้งด้านการจัดการความเสี่ยงทางการเงิน และการให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงินกับบริษัทในเครือซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการดำเนินธุรกิจที่มีเป้าหมายเพื่อให้ธุรกิจมีสภาพคล่อง อย่างไรก็ดียังคงมีช่องโหว่ของกฎหมายที่ทำให้บริษัทอาศัยเป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อประโยชน์ทางภาษีของกลุ่มบริษัท โดยพยายามที่จะลดภาระภาษีของกลุ่มบริษัทให้ต่ำลงหรือการหลีกเลี่ยงภาษีเกิดขึ้นเอกัตศึกษาเล่มนี้มุ่งเน้นศึกษาเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการรับรู้รายจ่ายผลขาดทุนของ เงินลงทุนที่ไม่ได้รับคืนภายหลังการเลิกกิจการของบริษัทลูกหนี้ ซึ่งเป็นผลมาจากการเพิ่มทุนให้แก่ กิจการของลูกหนี้เพื่อนำมาชำระหนี้การค้าและเงินให้กู้ยืมแก่บริษัทผู้ลงทุนเอง ซึ่งจากผลของ การศึกษาพบว่า วัตถุประสงค์หลักของการปลดหนี้โดยผ่านการเพิ่มเงินลงทุนดังกล่าวนั้นไม่มี ความแตกต่างกันระหว่างหนี้การค้าและเงินให้กู้ยืม ซึ่งมีคำสั่งกรมสรรพากรกำหนดให้บริษัท ไม่สามารถรับรู้ผลขาดทุนของเงินลงทุนที่ไม่ได้รับคืนจากการเพิ่มทุนในกรณีของหนี้การค้า แต่ในกรณีของหนี้เงินให้กู้ยืม บริษัทสามารถเลือกวิธีการเพิ่มทุนให้แก่กิจการของลูกหนี้เพื่อนำเงินมาชำระหนี้เงินให้กู้ยืมแก่ตนเอง เพื่อให้บริษัทสามารถนำผลขาดทุนของเงินลงทุนดังกล่าวมารับรู้เป็นรายจ่ายทางภาษีอากรได้มากขึ้นแทนที่จะทำการปลดหนี้เงินกู้ยืมให้แก่กันโดยตรงซึ่งไม่สามารถนำมาลงเป็นรายจ่ายได้ ซึ่งถือเป็นการหลีกเลี่ยงภาษี (Tax Avoidance) อย่างหนึ่งของบริษัท โดยการวางแผนที่จะรับรู้รายจ่ายที่สูงเพื่อจะได้เสียภาษีในจำนวนที่น้อยลงได้ ดังนั้นการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่มีความเสมอภาคกันในการรับรู้รายจ่ายผลขาดทุนจาก การเพิ่มทุนที่ไม่ได้รับคืนจากการเพิ่มทุนเพื่อชำระหนี้การค้าและเงินให้กู้ยืมของบริษัทในเครือเดียวกันภายหลังการเลิกกิจการของบริษัทลูกหนี้ โดยการเพิ่มข้อกำหนดและเงื่อนไขให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น มีความเพียงพอและน่าเชื่อถือของหลักฐานต่างๆ มีการกำหนดแผนการเงิน รวมถึง ระยะเวลาในการดำเนินกิจการอย่างต่อเนื่องของบริษัทผู้ได้รับการลงทุนที่เหมาะสม จะช่วยทำให้ กิจการปลอดการหลีกเลี่ยงภาษีอากร และรัฐบาลจะสามารถจัดเก็บภาษีเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนา ประเทศต่อไปในอนาคตได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2017.12 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน | en_US |
dc.subject | การกู้ยืม -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.title | ปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคลจากการเพิ่มทุนเพื่อชำระหนี้บริษัทในเครือ : กรณีเลิกกิจการ | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายเศรษฐกิจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.subject.keyword | การหลีกเลี่ยงภาษี | en_US |
dc.subject.keyword | การจัดการความเสี่ยง | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2017.12 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
598 61727 34.pdf | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.