Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60688
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Piyanee Panitvisai | - |
dc.contributor.author | Siwaporn Siwawut | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry | - |
dc.date.accessioned | 2018-12-03T02:22:05Z | - |
dc.date.available | 2018-12-03T02:22:05Z | - |
dc.date.issued | 2016 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60688 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2016 | - |
dc.description.abstract | Aim: To compare the anesthetic efficacy between intraosseous injection and buccal infiltration when used as a primary anesthesia technique for mandibular first molars. Methodology: Using a crossover design, 20 adult subjects randomly received intraosseous injection of 1.7 mL 4% articaine with 1:100,000 epinephrine or buccal infiltration of 3.4 mL 4% articaine with 1:100,000 epinephrine at 2 separate appointments. The mandibular first molars were tested with an electric pulp tester at 3-minute cycles for 60 minutes after the injections. Successful pulpal anesthesia was defined as no response from the subject on two consecutive pulp tester readings of 80. Pain ratings for each injection were recorded. The data were analyzed using the McNemar and Wilcoxon signed ranks tests. Results: The success rate for the intraosseous injections and buccal infiltrations were 95% and 80%, respectively. There was no significant difference in success rate between the anesthetic techniques (P > 0.05). However, the onset of pulpal anesthesia was significantly faster with the intraosseous injections (P < 0.05). No significant differences were found between the two techniques for injection pain or postoperative pain (P > 0.05). Conclusions: The anesthetic success rate of buccal infiltration using 2 cartridges of 4% articaine with 1:100,000 epinephrine is comparable to that of intraosseous injection using a single cartridge of 4% articaine with 1:100,000 epinephrine in asymptomatic mandibular first molars. Both techniques can be useful alternatives for inducing mandibular first molar anesthesia. | - |
dc.description.abstractalternative | จุดประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธีการฉีดยาชาระหว่างอินทราออซเซียสอินเจคชั่นกับบัคเคิลอินฟิลเตรชั่นในฐานะที่เป็นเทคนิคแรกในการทำให้ฟันกรามล่างซี่ที่หนึ่งชา วิธีวิจัย: ใช้รูปแบบการศึกษาแบบสองระยะไขว้กัน (crossover trial) โดยให้อาสาสมัครจำนวน 20 คน ได้รับการฉีดยาชาวิธีอินทราออซเซียสอินเจคชั่นด้วยอาร์ติเคนเข้มข้นร้อยละ 4 ผสมอิพิเนฟรินเข้มข้น 1:100,000 ปริมาณ 1.7 มิลลิลิตร หรือ วิธีบัคเคิลอินฟิลเตรชั่นด้วยอาร์ติเคนเข้มข้นร้อยละ 4 ผสมอิพิเนฟรินเข้มข้น 1:100,000 ปริมาณ 3.4 มิลลิลิตร แยกกันในการนัดหมายสองครั้ง ทำการทดสอบฟันกรามล่างซี่ที่หนึ่งด้วยเครื่องทดสอบไฟฟ้า (electric pulp tester) ทุกๆ 3 นาที เป็นระยะเวลา 60 นาที การชาของเนื้อเยื่อในถือว่าประสบความสำเร็จหากไม่มีการตอบสนองจากอาสาสมัครเมื่อเครื่องทดสอบไฟฟ้าอ่านค่าสูงสุด (80) จำนวน 2 ครั้งติดต่อกัน ให้อาสาสมัครทำการบันทึกระดับความเจ็บปวดของการฉีดยาชาแต่ละวิธี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบทางสถิติแมกนีมาร์และวิลคอกซัน ผลวิจัย: วิธีอินทราออซเซียสอินเจคชั่นและวิธีบัคเคิลอินฟิลเตรชั่นมีอัตราความสำเร็จอยู่ที่ 95% และ 80% ตามลำดับ ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างสองวิธีในแง่อัตราความสำเร็จ (P > 0.05) อย่างไรก็ตาม พบว่าวิธีอินทราออซเซียสอินเจคชั่นทำให้เนื้อเยื่อในฟันเกิดการชาได้เร็วกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างสองวิธีในแง่ระดับความเจ็บปวดขณะฉีดยาชา หรือ ความเจ็บปวดหลังจากฉีดยาชา (P > 0.05) บทสรุป: อัตราความสำเร็จของการฉีดยาชาในฟันกรามล่างซี่ที่หนึ่งที่ไม่มีอาการด้วยวิธีบัคเคิลอินฟิลเตรชั่นโดยใช้อาร์ติเคนเข้มข้นร้อยละ 4 ผสมอิพิเนฟรินเข้มข้น 1:100,000 จำนวน 2 หลอด เทียบกันได้กับอัตราความสำเร็จของวิธีอินทราออซเซียสอินเจคชั่นโดยใช้อาร์ติเคนเข้มข้นร้อยละ 4 ผสมอิพิเนฟรินเข้มข้น 1:100,000 จำนวน 1 หลอด ทั้งสองวิธีนี้สามารถใช้เป็นเทคนิคทางเลือกในการทำให้ฟันกรามล่างซี่ที่หนึ่งเกิดการชาได้ | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1520 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject | Local anesthetics | - |
dc.subject | Anesthesia in dentistry | - |
dc.subject | ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ | - |
dc.subject | การระงับความรู้สึกในทันตกรรม | - |
dc.subject.classification | Dentistry | - |
dc.title | Comparing anesthetic efficacy of intraosseous injection versus buccal infiltration in mandibular first molar | - |
dc.title.alternative | การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการฉีดยาชาด้วยวิธีอินทราออซเซียสอินเจคชั่นกับบัคเคิลอินฟิลเตรชั่นในฟันกรามล่างซี่ที่หนึ่ง | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Master of Science | - |
dc.degree.level | Master's Degree | - |
dc.degree.discipline | Endodontology | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
dc.email.advisor | Piyanee.P@Chula.ac.th | - |
dc.subject.keyword | ARTICAINE | - |
dc.subject.keyword | BUCCAL INFILTRATION | - |
dc.subject.keyword | INTRAOSSEOUS | - |
dc.subject.keyword | MANDIBULAR MOLAR | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2016.1520 | - |
Appears in Collections: | Dent - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5775824232.pdf | 1.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.