Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60732
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภารดี ศรีลัด-
dc.contributor.advisorสุธนะ ติงศภัทิย์-
dc.contributor.authorศราวุฒิ อินพวง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-12-03T02:29:00Z-
dc.date.available2018-12-03T02:29:00Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60732-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของโปรแกรมการออกกำลังกายโดยใช้โบซูบอลที่มีผลต่อการทรงตัว และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ก่อนและหลังการทดลอง เป็นวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีกลุ่มตัวอย่างเพียงหนึ่งกลุ่ม โดยเลือกนักเรียนที่มีความบกพร่องการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาทุ่งมหาเมฆ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 9 คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ทำการเปรียบเทียบผลการทดลอง จากการทดสอบก่อนการทดลอง หลังการทดลองสัปดาห์ที่ 4 และสัปดาห์ที่ 8 ผู้วิจัยทำการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการทดลองตลอดระยะเวลา 8 สัปดาห์ ไปวิเคราะห์ในเชิงสถิติโดยใช้โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนภายในกลุ่มชนิด (Repeated Measures ANOVA ) และบรรยายเพื่อสรุปผลของการดำเนินการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า สมรรถภาพทางด้านการทรงตัวอยู่กับที่สำหรับการวัด 3 ครั้ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, F(2, 16) = 20.60, p < .001 เมื่อเปรียบเทียบภายหลังด้วยวิธี bonferroni พบว่า ผลของการทดสอบสมรรถภาพทางด้านการทรงตัวอยู่กับที่สัปดาห์ที่8 มากกว่า ก่อนการทดลองสัปดาห์ที่1 และสัปดาห์ที่4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อีกทั้งผลการทดสอบสมรรถภาพทางด้านการทรงตัวอยู่กับที่สัปดาห์ที่4 มากกว่าก่อนการทดลองสัปดาห์ที่1 อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ สมรรถภาพทางด้านการทรงตัวขณะเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบค่าความแตกต่างทางสถิติ พบว่า สัปดาห์ที่8 มากกว่า ก่อนการทดลองสัปดาห์ที่1 และสัปดาห์ที่4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อีกทั้งผลการทดสอบสมรรถภาพทางด้านการทรงตัวขณะเคลื่อนที่สัปดาห์ที่4 มากกว่าก่อนการทดลองสัปดาห์ที่1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สมรรถภาพทางด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสำหรับการทดสอบ 3 ครั้ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, F(2, 16) = 13.86, p < .001 เมื่อเปรียบเทียบภายหลังด้วยวิธี bonferroni พบว่า ผลของการทดสอบสมรรถภาพทางด้านการความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสัปดาห์ที่8 มากกว่า ก่อนการทดลองสัปดาห์ที่1 และสัปดาห์ที่4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อีกทั้งผลการทดสอบสมรรถภาพทางด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสัปดาห์ที่4 มากกว่าก่อนการทดลองสัปดาห์ที่1 อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the effect of exercise program using bosuball on balance and muscle strength. Before and after the experiment quasi-experimental research, there is only one group of students with hearing impairment. Tungmahamek School grade 9 students were selected by selecting the specific sample to comparison of experimental results. Pre-trial testing After 4 weeks and 8 weeks, the subjects were tested for physical fitness before and after week 4 and week 8 after the eight exercise program. Created and developed for use in two 60-minute trials per week for a period of 8 weeks. The researcher collected all data from the trial. The duration of 8 weeks was analyzed statistically and lectures to summarize the results of the research. The research found that for three measurements, there were statistically significant differences at .05, F (2, 16) = 20.60, p <.001. Compared with bonferroni, the effects of Stability tests remained at week 8 rather than before week 1 and 4 weeks statistically significant. The results of the fitness test were stable at Week 4 are more than before week 1 with no statistical significance. As compared to the control group, it was found that week 8 was higher than before the first week and 4 weeks statistically significant. In addition, the results of the static stability test at week 4 more than before week 1 statistically significant. Muscle strength for three tests was significantly different at .05, F (2, 16) = 13.86, p <.001 when compared with bonferroni, the effect of Muscular strength training in week 8 was higher than before week 1 and 4 week statistically significant. The results of muscle strength training in week 4 are more than before week 1 no with statistical significance.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.1583-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการออกกำลังกาย-
dc.subjectเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน-
dc.subjectการทรงตัว-
dc.subjectExercise-
dc.subjectHearing impaired children-
dc.subjectEquilibrium (Physiology)-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleผลของโปรแกรมการออกกำลังกายโดยใช้โบซูบอลที่มีต่อการทรงตัวและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน-
dc.title.alternativeEffects of Bosu Ball exercising program to balancing and muscle strength of auditory impaired students-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorParadee.A@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSuthana.T@Chula.ac.th-
dc.subject.keywordAUDITORY IMPAIRED STUDENTS-
dc.subject.keywordBOSU BALL EXERCISE-
dc.subject.keywordBALANCE-
dc.subject.keywordMUSCLE STRENGTH-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2017.1583-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5983929027.pdf4.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.