Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60829
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเขมรัฐ โอสถาพันธุ์-
dc.contributor.advisorเจริญขวัญ ไกรยา-
dc.contributor.authorอภิรุจี บัวดก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2018-12-03T02:56:45Z-
dc.date.available2018-12-03T02:56:45Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60829-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการกำจัดนิกเกิลออกจากน้ำเสียด้วยวิธีเคมีไฟฟ้าแบบควบคุมกระแสไฟฟ้าให้คงที่ โดยใช้ถังปฏิกิริยาแบบมีรอยต่อของสารละลาย ถังปฏิกิริยาถูกแบ่งเป็นฝั่งแคโทดและฝั่งแอโนด ฝั่งแคโทดบรรจุน้ำเสียและฝั่งแอโนดบรรจุสารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่เหมาะสม โดยสารละลายทั้งสองถูกกั้นออกจากกันด้วยผนังวุ้นหรือแผ่นแก้วพรุน ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่ารูปแบบรอยต่อของสารละลายและชนิดสารละลายอิเล็กโทรไลต์ฝั่งแอโนดมีผลต่อขีดจำกัดของความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าที่สามารถใช้ได้และเวลาในการกำจัดนิกเกิล โดยเวลาที่ใช้สำหรับกำจัดนิกเกิลขึ้นอยู่กับค่าพีเอชเริ่มต้นของสารละลาย ความเข้มข้นนิกเกิลและไดเมทิลไกลออกซีม งานวิจัยนี้แสดงผลการกำจัดนิกเกิลในน้ำเสียที่มีปริมาณนิกเกิลไอออน 750 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยสามารถกำจัดนิกเกิลได้ภายใน 14 นาที หลังการปรับค่าพีเอชเริ่มต้นของสารละลายเป็น 1.2 และให้ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าที่ 382 แอมแปร์ต่อตารางเมตร โดยใช้ถังปฏิกิริยาที่บรรจุโซเดียมคลอไรด์ความเข้มข้น 0.5 โมลาร์ เป็นสารอิเล็กโทรไลต์ฝั่งแอโนด และกั้นสารละลายด้วยผนังวุ้น-
dc.description.abstractalternativeThis study presents a constant-current electrolysis technique to remove Ni(II) from wastewater using a two-compartment electrochemical reactor. The reactor compartments were separated as cathode and anode. The cathode compartment was filled with wastewater and the anode compartment was filled with selected electrolyte. The two compartments were separated by two different materails; agar wall and porous glass. The study revealed that both reactor separator and electrolyte had effects on limit of applied current density and Ni(II) removal time. The time used for Ni(II) removal depends also on initial pH of solution, Ni(II) and Dimethlyglyoxime concentrations. This study showed that a complete removal of 750 ppm Ni(II) ions from wastewater could be achieved within 14 min after adjusted an initial pH of solution to 1.2 and applied current density at 382 A/m2 in the reactor that contains 0.5 M NaCl as an anode electolyte and agar wall separator.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1342-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการกำจัดน้ำเสีย-
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนัก-
dc.subjectเคมีไฟฟ้า-
dc.subjectSewage disposal-
dc.subjectSewage -- Purification -- Heavy metals removal-
dc.subjectElectrochemistry-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleผลของค่าความเข้มข้นเริ่มต้นของนิกเกิลและไดเมทิลไกลออกซีมที่มีต่อการกำจัดนิกเกิลออกจากน้ำเสียห้องปฏิบัติการเคมี ด้วยวิธีเคมีไฟฟ้า-
dc.title.alternativeEffects of initial concentration of nickel and dimethylglyoxime on the nickel removal chemical laboratory’s wastewater by electrochemical method-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorKhemarath.O@Chula.ac.th-
dc.email.advisorCharoenkwan.K@Chula.ac.th-
dc.subject.keywordNICKEL-
dc.subject.keywordWASTERWATER-
dc.subject.keywordREDUCTION-
dc.subject.keywordELECTROLYSIS-
dc.subject.keywordPRECIPITATION-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1342-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570449521.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.