Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAngsumalin Senjuntichai-
dc.contributor.authorNuttapong Wonganawat-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2018-12-03T02:59:27Z-
dc.date.available2018-12-03T02:59:27Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60843-
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2015-
dc.description.abstractReady Rice product is a ready to eat rice in a sealed plastic cup. It has been increasingly accepted by customers. The studying company had launched the Ready Rice products since 2014 but the defective rate had been found increasingly. The objective of this study is to reduce the defects of the Ready Rice product in this company. This study applied DMAIC steps of Six Sigma approach which is the systematic procedure based on statistical methods to reduce the defective rate resulted in higher cost approximately 35,342 THB per month. Six Sigma approach is applied starting from a define phase to identify a major product problems which are the out of shape, the wrinkle of seal and the illegible date code of plastic cup. Then, in measure phase, the high defective percentage of 5.14% of the Ready Rice production is measured. Various quality improvement tools such as Cause & Effect diagram, Failure Modes and Effect Analysis (FMEA) and Pareto diagram are applied in analyze phase to determine the causes of each defect type. It is also proved by the hypothesis testing that there is one, three and two significant factors related to the defective rate of the out of shape, the wrinkle of seal and the illegible date code of plastic cup, respectively. All factors are the process parameters of the retort and sealing machines such as the pressure and temperature of the retort machine and temperature, time and vacuum of the sealing machine. The design of experiment based on the analysis of variance (ANOVA) are deployed at improve phase to determine the suggested machine setting with respect to the minimum overall defective rate. The p chart are deployed to monitor the process at control phase by setting the process parameters at 1,700 mbar of retort machine’s pressure, 160 °C of retort’s machine temperature, 150 °C of sealing machine’s temperature, 4 second of sealing time and 10 bars of sealing vacuum.          After process improvement implementation, the overall defective rate is reduced by 56.42% from 5.14% to 2.24%. As the results, the cost of defects is also reduced by 53.17% from 35,342 to 16,549 THB per month. Moreover, the process capability and process performance are increased from 1.04 to 1.17 and 0.54 to 0.67, respectively.-
dc.description.abstractalternativeผลิตภัณฑ์ข้าวพร้อมรับประทานคือนวัตกรรมใหม่ของผลิตภัณฑ์ข้าว โดยผู้บริโภคสามารถรับประทานข้าวที่หุงสุกแล้วภายในถ้วยที่ถูกปิดสนิทได้ทันที บริษัทที่ทำการศึกษาได้วางจำหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวพร้อมรับประทานในตลาดตั้งแต่ปี 2014 และประสบปัญหาในเรื่องอัตราของเสียจากการผลิตที่เพิ่มขึ้น โดยจุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือมุ่งเน้นการลดของเสียในการผลิตผลิตภัณฑ์ข้าวพร้อมรับประทานในบริษัทที่ทำการศึกษา การดำเนินการศึกษามีการใช้ทฤษฎี DMAIC ซึ่งเป็นวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบตามแนวคิด ซิกส์ ซิกม่า โดยใช้หลักการทางสถิติมาใช้ในการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและระบุวิธีการแก้ปัญหา งานวิจัยมีจุดมุ่งหมายในการลดจำนวนของเสียและลดต้นทุนที่เกิดจากของเสียโดยเฉลี่ย 35,342 บาทต่อเดือน การศึกษาเริ่มต้นที่ขั้นตอนการนิยามปัญหา ซึ่งพบว่าของเสียชนิด ถ้วยบุบหรือบวม, ซีลย่นและวันที่ผลิตอ่านไม่ออก เป็นปัญหาที่สำคัญและควรถูกแก้ไขเป็นอันดับแรก จากนั้นจึงเข้าสู่ขั้นตอนการวัด โดยพบว่าค่าเฉลี่ยของของเสียรวมอยู่ที่ 5.14% ต่อมาจึงทำการทดสอบความแม่นยำในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ของพนักงาน, การช่วยกันระดมสมองเพื่อระบุสาเหตุของการเกิดของเสียใน 3 ชนิดข้างต้น โดยใช้ แผนผังสาเหตุและผล, การวิเคราะห์อาการขัดข้องและผลกระทบ (FMEA) และแผนภูมิพาเรโต้ เมื่อได้สาเหตุของปัญหาที่สำคัญขั้นตอนต่อไปของการศึกษาคือการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา โดยใช้การทดสอบสมมุติฐานมาทดสอบว่าสาเหตุต่างๆที่ถูกระบุมานั้นมีผลที่ทำให้เกิดของเสีย 3 ชนิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อวิเคราะห์หาสาเหตุที่สำคัญของของเสียทั้ง 3 ชนิด ซึ่งทั้งหมดมาจากการตั้งค่าเครื่องจักรที่ไม่เหมาะสมเช่น แรงดันของเครื่องรีทอร์ท, อุณหภูมิในการซีล และ เวลาในการซีล เป็นต้น จึงเข้าสู่ขั้นตอนการปรับปรุงเพื่อทำการหาค่าการตั้งเครื่องจักรที่เหมาะสมที่สามารถทำให้เกิดของเสียทั้ง 3 ชนิดน้อยที่สุด โดยใช้การออกแบบการทดลองและการวิเคราะห์ความแปรปรวน มาช่วยในการวิเคราะห์ เมื่อได้ค่าที่เหมาะสมของแต่ละเครื่องจักรจึงทำการทดลองเพื่อยืนยันผลและหาวิธีการควบคุมไม่ให้สาเหตุดังกล่าวเกิดขึ้นได้อีก หลังจากการทดสอบยืนยันผลการศึกษา พบว่า ของเสียรวมในผลิตภัณฑ์ข้าวพร้อมรับประทานลดลง 56.42% หรือจาก 5.14% เหลือ 2.24% ต้นทุนจากการเกิดของเสียลดลงจาก 35,342 บาท เหลือ 16,549 บาทต่อเดือน ซึ่งคิดเป็น 53.17% ยิ่งไปกว่านั้น ความสามารถของกระบวนการผลิตระยะสั้นโดยรวมมีค่าเพิ่มขึ้นจากเดิม 1.04 เป็น 1.17 และระยะยาวจากเดิม 0.54 เป็น 0.67-
dc.language.isoen-
dc.publisherChulalongkorn University-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.173-
dc.rightsChulalongkorn University-
dc.subjectWaste minimization-
dc.subjectPackaging waste-
dc.subjectSix sigma (Quality control standard)-
dc.subjectการลดปริมาณของเสีย-
dc.subjectขยะบรรจุภัณฑ์-
dc.subjectซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)-
dc.titleDefect reduction in ready rice packaging by applying Six Sigma approach-
dc.title.alternativeการลดของเสียของบรรจุภัณฑ์ข้าวพร้อมรับประทานด้วยแนวคิดซิกส์ซิกมา-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameMaster of Engineering-
dc.degree.levelMaster's Degree-
dc.degree.disciplineEngineering Management-
dc.degree.grantorChulalongkorn University-
dc.subject.keywordREADY RICE/PACKAGING DEFECT/SIX SIGMA-
dc.subject.keywordEngineering-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.173-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5671231221.pdf5.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.