Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60930
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมเกียรติ ปิยะธีรธิติวรกุล | - |
dc.contributor.advisor | ไพบูลย์ นัยเนตร | - |
dc.contributor.advisor | พรพิมล เชื้อดวงผุย | - |
dc.contributor.author | ชยาภา ฟองโหย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-12-03T03:11:55Z | - |
dc.date.available | 2018-12-03T03:11:55Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60930 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | - |
dc.description.abstract | ศึกษาพัฒนาการของจักจั่นทะเล Emerita sp. วัยอ่อน ตั้งแต่ระยะฟักจากไข่จนถึงระยะเมกาโลปา (ระยะที่ตัวอ่อนมีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัย) โดยเก็บตัวอย่างแม่พันธุ์จักจั่นทะเลมาเลี้ยงในห้องปฏิบัติการจนกระทั่งตัวอ่อนฟักออกมา เพาะเลี้ยงภายใต้ความเค็ม 28-30 psu อุณหภูมิน้ำทะเล 27-29 องศาเซลเซียส ค่าความเป็นกรด-ด่าง 7.7-7.8 ระยะเวลากลางวัน : กลางคืน เท่ากับ 12:12 ชั่วโมง ให้อาร์ทีเมียที่เพิ่งฟักใหม่ๆเป็นอาหาร การศึกษาพบว่า จักจั่นทะเลชนิดนี้มีระยะตัวอ่อนซูเอีย 6 ระยะ ก่อนเข้าสู่ระยะเมกาโลปา ใช้เวลาเฉลี่ยทั้งหมด 35 วัน โดยพบว่าขนบริเวณส่วนปลายรยางค์ด้านนอกของแมกซิลิเปดคู่ที่ 1 และ 2 เพิ่มขึ้นอย่างคงที่ในแต่ละครั้งของการลอกคราบ ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาของจักจั่นทะเลวัยอ่อนที่พัฒนาขึ้นแต่ละระยะ สามารถใช้จำแนกระยะของตัวอ่อนจักจั่นทะเลชนิดนี้ที่พบในธรรมชาติได้ อีกทั้งยังชี้ให้เห็นความเป็นไปได้ในการอนุบาลตัวอ่อนจักจั่นทะเลในโรงเพาะฟัก | - |
dc.description.abstractalternative | The development of sand crab larvae, Emerita sp. were investigated. Larval of Emerita sp. were reared in a laboratory from newly hatching to megalopa stages. The ovigerous females were collected from the field and cultured in laboratory until hatching. The larvae were separated and reared in the laboratory under condition of salinity 28-30 psu, temperature 27-29˚C, pH 7.7-7.8 and 12:12 h light-dark cycle. The larvae were fed newly hatching nauplii of Artemia sp. The result of study indicated that Emerita sp. Larva has six zoeal stages and a magalopa stage. Whole larval development stages took approximately 35 days. The number of plumose setae on the exopodite of the first and second maxilliped increased linearly within stages. Morphology of each stage larva was described and illustrated in details. Moreover, our result showed a feasibility of larval culture of the sand crabs for conservation and mass culture purposed in the future. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.842 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | จักจั่นทะเล | - |
dc.subject | Sand crab | - |
dc.subject | Mole crab | - |
dc.title | การเจริญและพัฒนาการของตัวอ่อนจักจั่นทะเล Emerita sp. (Decapoda: Anomura: Hippidae) ที่เลี้ยงในห้องปฏิบัติการ | - |
dc.title.alternative | Ontogeny and larval development of sand crab, Emerita sp. (decapoda: anomura: hippidea) reared in laboratory | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์ทางทะเล | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject.keyword | SAND CRAB | - |
dc.subject.keyword | HIPPIDAE | - |
dc.subject.keyword | ONTOGENY | - |
dc.subject.keyword | LARVAL DEVELOPMENT | - |
dc.subject.keyword | Environmental Science | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.842 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5571950723.pdf | 5.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.