Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorสุพัฒน์ วงศ์จิรัฐิติกาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-01-10T05:57:40Z-
dc.date.available2019-01-10T05:57:40Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61122-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ในปัจจุบันที่เพิ่มสูงขึ้นทำให้มีความต้องการชิ้นส่วนยานยนต์เพิ่มสูงขึ้น ดังนั้นการที่จะตอบสนองความต้องการเหล่านี้ได้ ผู้ผลิตต้องมีระบบการผลิตที่มีความน่าเชื่อถือ ระบบซ่อมบำรุงจึงมีบทบาทสำคัญในการสร้างความน่าเชื่อถือให้กับระบบการผลิตโดยในงานวิจัยนี้จะทำการปรับปรุงระบบการซ่อมบำรุงเชิงป้องกันของโรงงานผลิตเพลารถยนต์ซึ่งในปัจจุบันประสบกับปัญหาเครื่องจักรเกิดเหตุขัดข้องบ่อยครั้ง เนื่องจากแผนซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกันที่ใช้อยู่ประยุกต์มาจากคู่มือเครื่องจักรเพียงอย่างเดียวแต่ไม่มีการนำข้อมูลการเสียที่เกิดขึ้นในอดีตมาทำการวิเคราะห์เพื่อวางแผนซ่อมบำรุงเชิงป้องกัน โดยการปรับปรุงแผนซ่อมบำรุงเชิงป้องกันจะเริ่มจากการเก็บข้อมูลการเสียในอดีตและคำนวณค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร เวลาเฉลี่ยระหว่างการเสียหาย (MTBF) และเวลาเฉลี่ยในการซ่อมแซม (MTTR) ของเครื่องจักรเพื่อสร้างตัวชี้วัด จากนั้นจะทำการเลือกเครื่องจักรผ่านกรรมวิธีทางสถิติและใช้เทคนิคการวิเคราะห์สาเหตุของลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบ (FMEA) ในการช่วยวิเคราะห์ถึงสาเหตุและเลือกชิ้นส่วนของเครื่องจักรที่ส่งผลกระทบต่อสายการผลิตมาทำการวางแผนซ่อมบำรุงเชิงรักษา จากนั้นจะทำการทดลองใช้แผนการซ่อมบำรุงเชิงป้องกันที่ปรับปรุงมาทดลองใช้และเก็บข้อมูลเพื่อคำนวณค่า MTBF และ MTTR ของสายการผลิตโดยนำมาเปรียบเทียบกับตัวชี้วัดที่สร้างไว้ หลังจากการใช้ระบบซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกันที่มีการปรับปรุงส่งผลให้สายการผลิตมีค่า OEE สูงขึ้นจากเดิม 86.97% เป็น 91.90% MTBF สูงขึ้นจากเดิม 46.51 ชั่วโมงต่อครั้งเป็น 48.50 ชั่วโมงต่อครั้ง และ MTTR ที่ลดลงจากเดิม 225.71 นาทีต่อครั้งเป็น 121 นาทีต่อครั้งen_US
dc.description.abstractalternativeDue to the substantial expansion in the automobile industry, the demand for auto parts has increased dramatically, which in turns has stimulated the competition among auto parts suppliers. Manufacturers generally pay attention on product development, production capacity, logistics, and prices. In order to meet manufacturers' need, the suppliers need to have reliable maintenance management, which is the crucial factor in building credibility of the suppliers. In this research, we focus on improving the preventive maintenance system through the use of FMEA technique in analyzing causes of failures and selecting parts of machines efficiently. The processes in maintenance management consist of cleaning, checking, lubricating, changing parts of the machines, preparing work instructions, and controlling procedures. After, the modified preventive maintenance system was executed; data was collected for calculating the value of the overall equipment effectiveness (OEE) mean time between failure (MTBF) and mean time to repair (MTTR). The value was then compared with the total efficiency of the machine prior the modified plan. The result of OEE is increased from 86.97% to 91.90% MTBF is increased from 46.51 hour/time to 48.50 hour/time and MTTR is reduced from 225.71 min/time to 121 min/hour after the plan was used.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1389-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรถยนต์ -- แกนเพลาen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์en_US
dc.subjectเครื่องจักรกล -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซมen_US
dc.subjectAutomobiles -- Axlesen_US
dc.subjectAutomobile supplies industryen_US
dc.subjectMachinery -- Maintenance and repairen_US
dc.titleการปรับปรุงระบบการบำรุงรักษาเชิงป้องกันของโรงงานผลิตเพลารถยนต์en_US
dc.title.alternativeImprovement of preventive maintenance planning of an automobile shaft manufactureren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRsuthas@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1389-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supat Wongjirattikarn.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.