Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61123
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวิทย์ นาคพีระยุทธ | - |
dc.contributor.author | ธนาวิทย์ ลาภสิริสวัสดิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2019-01-10T05:58:29Z | - |
dc.date.available | 2019-01-10T05:58:29Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61123 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 | en_US |
dc.description.abstract | เทคนิค OFDM สามารถแก้ปัญหาเฟดดิงในการสื่อสารสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี จึงมีการนำไปใช้ในมาตรฐานการสื่อสารสมัยใหม่จำนวนมาก แต่ระบบ OFDM มีความซับซ้อนซึ่งยากต่อการเรียนรู้ทำความเข้าใจ วิทยานิพนธ์นี้จึงได้ออกแบบและพัฒนาระบบ OFDM ซึ่งใช้ช่องสัญญาณเสียงผ่านอากาศ โดยใช้ DSP TMS320VC5416 เป็นตัวประมวลผล เพื่อนำไปใช้เป็นชุดการเรียนรู้ระบบ OFDM แบบเวลาจริง ระบบที่ได้พัฒนาขึ้นใช้จำนวนคลื่นพาห์ย่อย 128 ความถี่, อัตราการสุ่มข้อมูล 48 kHz, มีช่วงเวลาการ์ดอินเทอร์วอล 50 เปอร์เซ็นต์, ลดอัตราส่วนกำลังงานสูงสุดต่อกำลังงานเฉลี่ย (PAPR) ด้วยวิธีการแมปเลือกที่มีชุดลำดับเฟสคงที่, ใช้รูปแบบการส่งสัญญาณไพล็อตแบบบล็อก, ประมาณช่องสัญญาณด้วยเทคนิคกำลังสองน้อยที่สุด, ใช้การซิงโครไนซ์ทางเวลาด้วยสัญญาณ ปรีแอมเบิลและช่วงเงียบ, ใช้การมอดูเลตคลื่นพาห์ย่อยในแบบ QPSK, 16QAM หรือ 64QAM, ใช้การจัดสรรบิตและกำลังแบบปรับตัว (ABPL) เพื่อให้ทุกคลื่นพาห์ย่อยของสัญญาณที่ภาครับมีขนาดเท่ากัน หรือให้มีอัตราส่วนคลื่นพาห์ต่อสัญญาณรบกวน (CNR) เท่ากันได้ ระบบดังกล่าวนี้ยังไม่มีการซิงโครไนซ์ทางความถี่เนื่องจากภาคส่งและภาครับยังคงใช้สัญญาณนาฬิการ่วมกันอยู่ ได้มีการทดสอบระบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อหาอัตราการผิดพลาดบิต (BER) ที่ค่า Eb/No ต่างๆ รวมทั้งได้ทดสอบการทำงานกับช่องสัญญาณเสียงที่สามารถควบคุมการกระจายตัวค่าประวิงเวลาได้ ได้ผลการทดลองสอดคล้องกับทฤษฎีตามคาดหมาย และสามารถนำผลการทดลองมาวิเคราะห์เพื่อให้เข้าใจหลักการทำงานของระบบ OFDM ได้เป็นอย่างดี แต่ทั้งนี้ยังจำเป็นต้องมีการพัฒนาเอกสารประกอบการทดลองเพื่อให้สามารถนำไปใช้เป็นชุดการเรียนรู้ที่สมบูรณ์แบบต่อไป นอกจากนี้ยังสามารถนำไปพัฒนาเป็นชุดการเรียนรู้การโปรแกรม DSP ขั้นสูงได้อีกด้วย | en_US |
dc.description.abstractalternative | OFDM techniques can handle the fading problems in modern communication system effectively and are widely adopted in many modern communication standards. But OFDM system is complex and difficult to understand. This thesis designs and implements the real-time acoustic OFDM system over the air using TMS320VC5416 DSP to be used as a learning set for real-time OFDM system. The implemented system uses 128 sub-carriers, 48 kHz sampling rate, 50 percent guard interval, fixed selective mapping PAPR reduction technique, block pilot structure, least square channel estimation, time synchronization with pre-amble and silent period, QPSK or 16QAM or 64QAM sub-carriers modulations, ABPL technique to equalize the sub-carriers received power or CNR. This system does not need the frequency synchronization because the transmitter and receiver still use the same clock. The system is tested to find bit error rate at different Eb/No and also in acoustic channel with adjustable delay spread. The results follow the theoretical prediction as expected. With some analysis, the experiment results can help understanding the OFDM principle much better. But the experiment documentations must be further developed to become a complete learning set. Moreover, this system can also be used as a learning set for advance DSP programming as well. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1390 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การมัลติเพล็กซ์โดยการแบ่งความถี่ที่สัญญาณพาหะตั้งฉากซึ่งกันและกัน | en_US |
dc.subject | ระบบสื่อสารไร้สาย | en_US |
dc.subject | Orthogonal frequency division multiplexing | en_US |
dc.subject | Wireless communication systems | en_US |
dc.title | การสร้างชุดการเรียนรู้ OFDM แบบเวลาจริงโดยใช้ TMS320VC5416 | en_US |
dc.title.alternative | Real-time implementation of ofdm learning set using tms320vc5416 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมไฟฟ้า | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Suvit.N@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2012.1390 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thanawit Lapsirisward.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.