Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61176
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWanna Saengaramruang-
dc.contributor.advisorKarin Aguado-
dc.contributor.authorSupatcha Jennasombut-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Arts-
dc.date.accessioned2019-01-31T06:47:27Z-
dc.date.available2019-01-31T06:47:27Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61176-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractThe main purpose of this study is to investigate the improvement of Thai students’ textual competence in writing in German. It also examines the textual features in their argumentative essays. The participants of the study are 15 Thai fourth/year students majoring in German at Thammasat University. Each student is assigned to write nine argumentative Texts, one text a month. There are total of 135 texts analyzed. The results revealed that most students’ textual competence in showing their critical ideas from different perspectives has improved. Findings of the study also suggests that the students encounter several difficulties in writing argumentative texts, namely, a limited competence in searching relevant information, in their linguistic and grammatical knowledge and in formulating an effective writing process.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาความสามารถด้านตัวบทและปัญหาที่เกิดขึ้นในการเขียนเชิงอภิปรายโวหารของนักศึกษาไทยที่เรียนภาษาเยอรมัน กลุ่มประชากรที่ใช้ในงานวิจัยคือ นักศึกษาวิชาเอกภาษาเยอรมัน ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จำนวน 15 คน ที่เรียนวิชา การเขียนภาษาเยอรมัน 3 (Writing in German 3) ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยคือ งานเขียนเชิงอภิปรายโวหารรวมทั้งสิ้น 135 ฉบับ โดยตอนต้นของภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2556 กลุ่มประชากรได้รับมอบหมายให้เขียนตัวบทเชิงอภิปรายโวหารเป็นภาษาไทยและภาษาเยอรมันเพื่อศึกษาความ สามารถด้านตัวบทในภาษาไทยและภาษาเยอรมันก่อนเริ่มเรียนวิชา การเขียนภาษาเยอรมัน 3ของกลุ่มประชากร ในระหว่างการเรียนวิชานี้ตลอดภาคเรียนที่ 1 กลุ่มประชากรได้รับมอบหมายให้เขียนตัวบทเชิงอภิปรายโวหารเดือนละ 1 ฉบับเพื่อศึกษาการพัฒนาความสามารถด้านตัวบทในการเขียนเชิงอภิปรายโวหารภาษาเยอรมัน ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้กรอบทฤษฎีการวิเคราะห์งานเขียนเชิงอภิปรายโวหารของ เอากส์ (Augst u.a. 2007) ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มประชากรมีการพัฒนาด้านตัวบทในการเขียนเชิงอภิปรายโวหาร กล่าวคือสามารถเขียนตัวบทโดยมองประเด็นปัญหาจากหัวข้อการเขียนในมุมมองที่หลากหลายมากขึ้น แสดงให้เห็นถึงการเขียนที่ผ่านการคิดวิเคราะห์ซึ่งถือว่าเป็นลักษณะสำคัญของการเขียนเชิงอภิปรายโวหาร อย่างไรก็ตามผลการวิจัยยังพบปัญหาในการเขียนของกลุ่มประชากรส่วนใหญ่ 3 ด้านคือ การหาและรวบรวมข้อมูล ภาษา และ กระบวนการเขียนงานen_US
dc.language.isodeen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.75-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectGerman language -- Writingen_US
dc.subjectGerman language -- Study and teachingen_US
dc.subjectภาษาเยอรมัน -- การเขียนen_US
dc.subjectภาษาเยอรมัน -- การศึกษาและการสอนen_US
dc.titleTextkompetenz beim schreiben thailändischerdeutschstudierender am beispiel von argumentativen textenen_US
dc.title.alternativeความสามารถด้านตัวบทในการเขียนของนักศึกษาไทยที่เรียน ภาษาเยอรมันกรณีศึกษาด้านการเขียนเชิงอภิปรายโวหารen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Philosophyen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineGermanen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.75-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5380523722.pdf4.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.