Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61336
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนิดา ปรีชาวงษ์-
dc.contributor.authorเอกชัย ฝาใต้-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-02-26T13:31:15Z-
dc.date.available2019-02-26T13:31:15Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61336-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเลิกสูบบุหรี่ระหว่างกลุ่มที่ได้รับคำแนะนำแบบกระชับ และกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ป่วยในแผนกอุบัติเหตุฉุกเฉินที่สูบบุหรี่ซึ่งเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 60 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 30 คน ทั้ง 2 กลุ่มได้รับการจับคู่ให้มีลักษณะคล้ายคลึงกันในเรื่องเพศ อายุ และระดับการติดนิโคติน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ในขณะที่กลุ่มทดลองได้รับคำแนะนำแบบกระชับประมาณ 10-15 นาที และได้รับการติดตามทางโทรศัพท์ 2 ครั้ง ประเมินการเลิกบุหรี่จากการเลิกสูบบุหรี่ได้ติดต่อกันในช่วง 7 วันก่อนระยะเวลาประเมินผลที่ 1 เดือน หลังจากได้รับคำแนะนำแบบกระชับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย สถิติ Z (Z-test) และ Mann-Whitney U test ผลการทดลองพบว่า กลุ่มตัวอย่างในกลุ่มทดลองสามารถเลิกบุหรี่ได้ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ส่วนกลุ่มควบคุมเลิกบุหรี่ได้เพียง 1   คน คิดเป็นร้อยละ 3.3 สัดส่วนการเลิกบุหรี่ในช่วง 7 วันก่อนประเมินในกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับโปรแกรมการให้คำแนะนำแบบกระชับสูงกว่ากลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.05)-
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research aimed to examine the effect of brief advice intervention on quitting smoking among emergency department patients. Sixty study samples were recruited in the emergency department at Kanthaluk Hospital. The first 30 study samples were assigned to a control group and the latter 30 were assigned to the experimental group.  The groups were matched in term of age, gender, and level of nicotine dependence.  The control group was given usual care while the ones in the experimental group were individually given 10-15 min of brief advice for smoking cessation and two follow-up phone calls.  Smoking cessation outcome was assessed by 7-day point prevalence abstinence using the self-reported questionnaire.  Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, Mann-Whitney u test and Z-test.  The major finding showed that six patients in the experimental group (20.0%) and only one in the control group (3.3%) could quit smoking. The proportion of patients who quit smoking of the experimental group was significantly higher than that of the control group (p < .05)-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.958-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการสูบบุหรี่-
dc.subjectการเลิกสูบบุหรี่-
dc.subjectSmoking-
dc.subjectSmoking cessation-
dc.subject.classificationNursing-
dc.titleผลของโปรแกรมการให้คำแนะนำแบบกระชับต่อการเลิกบุหรี่ของผู้ป่วย แผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน-
dc.title.alternativeThe effect of brief advice intervention on quitting smoking among patients at emergency department-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSunida.P@Chula.ac.th-
dc.subject.keywordการเลิกบุหรี่ แผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน-
dc.subject.keywordSMOKING CESSATION-
dc.subject.keywordADVICE-
dc.subject.keywordEMERGENCY DEPARTMENT-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.958-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5877212636.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.