Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพฑูรย์ วิบูลชุติกุล-
dc.contributor.authorคมคิด งามวิริยะพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-03T08:12:06Z-
dc.date.available2008-03-03T08:12:06Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741740336-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6134-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractภายหลังจากการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนในปี 1993 การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศของประเทศสมาชิกต่างๆ ขยายตัวเป็นอันมาก การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ตรวจสอบว่าผลกระทบที่เกิดจากการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนต่อการค้าระหว่างประเทศโดยรวมของประเทศสมาชิกต่างๆ นั้น โดยสุทธิแล้วเป็นผลมาจากการสร้างปริมาณการค้าหรือการหันเหทิศทางการค้า โดยอาศัยแบบจำลอง Gravity ในการวิเคราะห์ และ 2) วิเคราะห์ผลกระทบที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าสวัสดิการสุทธิของผู้บริโภค โดยวัดในรูปของการเปลี่ยนแปลงมูลค่าส่วนเกินของผู้บริโภคภายใต้เส้นอุปสงค์ของ Hicks ทั้งนี้ การศึกษาในครั้งนี้มีความแตกต่างจากงานศึกษาในอดีตที่เป็นการศึกษาผลกระทบของการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนที่มีต่อการค้าระหว่างประเทศของไทยในรายอุตสาหกรรมเท่านั้น จากการศึกษาผลกระทบทางด้านการสร้างปริมาณการค้าและการหันเหทิศทางการค้าภายหลังจากการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน พบว่า การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนในภาพรวมก่อให้เกิดผลทางด้านการสร้างปริมาณการค้าระหว่างประเทศสมาชิกภายในกลุ่ม รวมทั้งก่อให้เกิดผลทางด้านการสร้างปริมาณการค้าทั้งทางด้านการนำเข้าและการส่งออก ระหว่างประเทศสมาชิกในกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่มเช่นกัน ทั้งนี้ประเทศที่ได้รับประโยชน์สูงสุดคือประเทศสิงคโปร์ เนื่องจากเป็นประเทศที่มีขนาดของมูลค่าการสร้างปริมาณการค้าโดยรวมสูงสุด ส่วนผลกระทบที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงมูลค่าสวัสดิการสุทธิของผู้บริโภคนั้น พบว่า ผู้บริโภคในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนต่างได้รับมูลค่าสวัสดิการสุทธิเพิ่มขึ้น ดังนั้น จึงสามารถกล่าวได้ว่าผลของการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศสมาชิกทั้งในด้านการสร้างปริมาณการค้าและสวัสดิการที่เพิ่มขึ้นen
dc.description.abstractalternativeAfter the establishment of ASEAN Free Trade Area (AFTA) in 1993, member countries have enjoyed international trade and international investment expansion. The objectives of this study are : 1) to examine the impact of AFTA formation on trade creation and trade diversion in each member country, and 2) to analyze the impact of AFTA establishment on consumer welfare. Empirically, we use gravity model to examine trade creation and trade diversion, and we adopt the concept of Hicks' consumer surplus to evaluate the impact on consumer welfare. The empirical results show that the establishment of AFTA develop created trade both within and outside member countries. Therefore, there was not much trade diversion. Singapore gained the most benefits from the highest record of net trade creation. Consumers in each country also enjoyed overall welfare gain. In summary, this study partly proves that the establishment of AFTA has contributed to both net trade creation to member countries and net welfare gain to all consumers.en
dc.format.extent1013833 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.819-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการค้าเสรีและการคุ้มครองen
dc.subjectการลงทุนและส่งเสริมการลงทุนen
dc.subjectเขตการค้าเสรีอาเซียนen
dc.subjectการลงทุนen
dc.titleผลกระทบทางด้านการค้าและสวัสดิการภายหลังจากการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนen
dc.title.alternativeImpact on trade and welfare after AFTA formationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.819-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Komkit.pdf990.07 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.