Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61419
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธาตรี ใต้ฟ้าพูล-
dc.contributor.authorศรัณรักษ์ โรจนวิทย์สกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-02-26T13:42:08Z-
dc.date.available2019-02-26T13:42:08Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61419-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางชั้นนำของผู้บริโภคผู้หญิงเจนเนอเรชั่นเอกซ์ และ ผู้หญิงเจนเนอเรชั่นเอ็ม 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของภาพลักษณ์ตราสินค้าเครื่องสำอางชั้นนำกับภาพลักษณ์ผู้บริโภคกลุ่มผู้หญิงเจนเนอเรชั่นเอกซ์ และ ผู้หญิงเจนเนอเรชั่นเอ็ม และ 3) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางชั้นนำระหว่างผู้หญิงกลุ่มเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์กับผู้หญิงกลุ่มเจนเนอเรชั่นเอ็ม ใช้วิธีการวิจัยแบบวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้วิธีการศึกษาด้วยการสัมภาษณ์กลุ่มย่อย (Focus Group Interview)   จำนวน 4 กลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มเจนเนอเรชั่นเอกซ์ 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน และกลุ่มเจนเนอเรชั่นเอ็ม 2 กลุ่ม กลุ่มละ 8 คน เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่าผู้หญิงกลุ่มเจนเนอเรชั่นเอกซ์และผู้หญิงกลุ่มเจนเนอเรชั่นเอ็มมีพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางชั้นนำที่ไม่แตกต่างกันมากนัก ขั้นตอนก่อนการซื้อ ผู้บริโภคทั้งสองกลุ่มมีการสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องสำอางชั้นนำผ่านสื่อออนไลน์ และมีการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสินค้ากับครอบครัวและเพื่อน ๆ ขั้นตอนการซื้อ ผู้หญิงทั้ง 2 กลุ่มมักซื้อเครื่องสำอางชั้นนำที่ห้างสรรพสินค้าชั้นนำเป็นหลัก รองลงมาเป็นการซื้อสินค้าผ่านร้านค้าออนไลน์ ซึ่งพบความแตกต่างคือกลุ่มผู้หญิงเจนเนอเรชั่นเอ็มจะมีการซื้อสินค้าผ่านร้านค้าตัวแทนจำหน่าย เนื่องจากมีราคาถูกกว่าและมีขนาดของผลิตภัณฑ์หลากหลายมากกว่า และขั้นตอนหลังการซื้อ ผลทางด้านจิตใจผู้หญิงทั้งสองกลุ่มรู้สึกพอใจต่อสินค้า และภาพลักษณ์ของตนเองเมื่อบริโภคเครื่องสำอางชั้นนำ ด้านการบริโภคมีความแตกต่างกันระหว่างผู้หญิง 2 กลุ่ม กลุ่มผู้หญิงเจนเนอเรชั่นเอกซ์บริโภคสินค้าตามความต้องการ ไม่มีการวางแผน ซึ่งแตกต่างกับกลุ่มผู้หญิงเจนเนอเรชั่นเอ็มที่มีการวางแผนการใช้เครื่องสำอางชั้นนำเพื่อยืดอายุการใช้งานของสินค้าให้ได้ยาวนานที่สุด ด้านความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ตราสินค้าเครื่องสำอางชั้นนำและภาพลักษณ์ผู้บริโภค ผู้วิจัยพบลักษณะความสัมพันธ์ 2 ลักษณะ คือ การฉายภาพลักษณ์ผู้บริโภคผ่านภาพลักษณ์ตราสินค้า ในลักษณะนี้ผู้บริโภคมีภาพลักษณ์เหมือนกับภาพลักษณ์ตราสินค้า บริโภคเครื่องสำอางชั้นนำเพื่อฉายภาพลักษณ์ของตนเองให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น และการยืมภาพลักษณ์ตราสินค้าเพื่อเสริมภาพลักษณ์ผู้บริโภค เป็นการบริโภคเครื่องสำอางชั้นนำเพื่อยืมภาพลักษณ์ตราสินค้ามาเพื่อสนับสนุนภาพลักษณ์ของตนเอง โดยผู้บริโภคต้องการที่จะมีภาพลักษณ์เหมือนกับภาพลักษณ์ตราสินค้าเครื่องสำอางชั้นนำ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to 1) study the consumer behavior of purchasing high-end cosmetics of women in Generation X and Generation M 2) to study the relationship between brand image and self concept of the women in Generation X and Generation M 3) to compare the consumer behavior of high-end cosmetic of women in generation X and Generation M. The study was a qualitative research conducted by focus group interviews. A sample was divided into 4 groups; 2 groups consisting of 6 women in Generation X and 2 groups of 8 of women in Generation M. The results found that the women had no difference in buying behavior. First, the pre-purchasing step, consumers in both groups had searched for high-end cosmetic information through online media, asking others. In the purchase process, Women in both groups usually bought cosmetics in leading department stores. Secondly, online stores. The distinctive factor was that Generations M were likely to buy high-end cosmetics from dealer shops. The final step, psychological effects, both groups felt satisfied with the products and their image (self concept) when consuming high-end cosmetics. Still, there are differences between two groups of the sample; Generation X had no plans for consumption, Generation M. planned to use the cosmetic to prolong the usage. Moreover, In the relationship between high-end cosmetic brand image and women’s self concept aspect, The researcher found two relationships among them. First, the consumer image projection through brand image, the consumers had self concept like the brand image. Using high-end cosmetics to amplify their image more accurately. Second, borrowing the brand image of cosmetics to enhance self concept. Leading cosmetic brands to lend their brand image to support their image. The consumers have the desire to obtain the same brand image as the leading cosmetic brands have.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.847-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค-
dc.subjectเครื่องสำอาง-
dc.subjectการรับรู้ตนเอง-
dc.subjectรุ่นวัย-
dc.subjectConsumer behavior-
dc.subjectCosmetics-
dc.subjectSelf-perception-
dc.subjectGenerations-
dc.subject.classificationArts and Humanities-
dc.titleความสัมพันธ์ต่อภาพลักษณ์ตราสินค้าเครื่องสำอางชั้นนำกับภาพลักษณ์ผู้บริโภคของผู้หญิงเจนเนอเรชั่นเอกซ์ และ ผู้หญิงเจนเนอเรชั่นเอ็ม -
dc.title.alternativeThe relationship between high-end cosmetics brand images and women’s self concept in Genneration X and Genneration M-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordเครื่องสำอางชั้นนำ-
dc.subject.keywordภาพลักษณ์ตราสินค้า-
dc.subject.keywordภาพลักษณ์ผู้บริโภค-
dc.subject.keywordcosmetic-
dc.subject.keywordbrand image-
dc.subject.keywordself concept-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.847-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6084682528.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.