Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61534
Title: | Extraction of spent green tea leaves as bioactive-compound source |
Other Titles: | การสกัดกากใบชาเขียวเพื่อเป็นแหล่งของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ |
Authors: | Monsichar Yannarat |
Advisors: | Warinthorn Chavasiri |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Subjects: | Green tea -- Leaves Plant extracts Bioactive compounds ชาเขียว -- ใบ สารสกัดจากพืช สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ |
Issue Date: | 2018 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Spent green tea leaves (SGTL) are a major contributor to the high cost of commercial tea products because of the large amount of leftover and the cost of disposal. This research investigates on the solvent and time for the extraction of SGTL that provides good yield of potential compound and to separate bioactive compounds as enrich-fractions and pure compounds. The obtained fractions were evaluated for antioxidant, antityrosinase, anticholinesterase and plant growth regulator activities. Caffeine was found in all samples. Among five extracts, the dichloromethane extract revealed high caffeine content (92.8 %peak area), while the methanol extract showed the highest five-catechin content (64.5 %peak area). Further separation of the latter by liquid-liquid extraction, the aqueous phase was extracted with ethyl acetate to gain high catechin family content (EGC, C, EC, EGCG, ECG) fraction with low caffeine. Four subfractions were separated from enrich-catechin family fraction. The enrich-caffeine and enrich-catechin family fractions displayed remarkable biological effects. Caffeine, gallic acid and ECG were bioactive compounds responsible for the biological activity in SGTL. Bioactive compound were isolated from SGTL showed bilogical activity including antioxidant, antityrosinase, anticholinesterase and plant growth regulation. SGTL was proved to be an excellent source of bioactive compounds. The enrich fractions served as prospective materials for the exploration of new multi-functional food and drug formulations. |
Other Abstract: | กากใบชาเขียวเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้ต้นทุนการผลิตชาเขียวพร้อมดื่มสูง เนื่องจากมีปริมาณของเหลือทิ้งมากและมีค่าใช้จ่ายในการกำจัดสูง งานวิจัยนี้ศึกษาตัวทำละลายและเวลาในการสกัดกากใบชาเขียวที่ให้ผลผลิตของสารประกอบที่ดี และเพื่อแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพออกมาในรูปของส่วนที่มีปริมาณของสารสำคัญสูง และสารบริสุทธิ์ ส่วนที่แยกได้ถูกทดสอบฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่น ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์คลอไลน์เอสเทอเรส และฤทธิ์กระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช สารกาเฟอีนถูกพบในทุกสิ่งสกัด สิ่งสกัดจากตัวทำละลายทั้งห้าชนิด สิ่งสกัดด้วยไดคลอโรมีเทนให้ปริมาณกาเฟอีนสูงที่สุด (92.8%) ในขณะที่สิ่งสกัดเมทานอลมีปริมาณสารในกลุ่มคาเทชินสูงสุด (64.5%) ถูกแยกต่อโดยวิธีสกัดด้วยของเหลวและของเหลว ส่วนของน้ำถูกสกัดด้วยเอทิลเอทิลอะซิเตต ได้สิ่งสกัดที่มีปริมาณของสารในกลุ่มคาเทชินสูง (EGC, C, EC, EGCG, ECG) และปริมาณกาเฟอีนต่ำ ส่วนที่มีปริมาณสารในกลุ่มคาเทชินสูงถูกแยกได้เป็นสี่ส่วนย่อย สิ่งสกัดที่มีปริมาณกาเฟอีนสูงและสิ่งสกัดที่มีปริมาณสารในกลุ่มคาเทชินสูงมีประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ทางชีวภาพค่อนข้างน่าสนใจ กาเฟอีน, กรดแกลลิก และ ECG เป็นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีอยู่ในกากใบชาเขียว สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพถูกแยกจากกากใบชาเขียวแสดงฤทธิ์ทางชีวภาพ ได้แก่ ฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่น, ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส, ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์คลอไลน์เอสเทอเรส และ ฤทธิ์ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช กากใบชาเขียวเป็นแหล่งที่มาของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่ยอดเยี่ยม และสิ่งสกัดที่มีปริมาณของสารที่สนใจสูงเป็นส่วนที่น่าสนใจสำหรับใช้ในการพัฒนาสูตรอาหารและยาสมัยใหม่ |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2018 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Biotechnology |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61534 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.36 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2018.36 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5972135123.pdf | 2.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.